Page 13 - หนังสือเรื่องเล่าของสัญญา
P. 13

ศาสตราจารย์ ดร.สมคดิ เลศิ ไพฑูรู ย์ ประธานคณะกรรมการอําานวย การสําานักงานสัญญาธรรมศักดิเ์ พื่อประชาธิปไตย เล่าว่า สําานักงานสัญญา ธรรมศกั ดเ์ิ พอื่ ประชาธปิ ไตย พฒั นามาจากศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นาประชาธปิ ไตย ท่ีได้จัดตั้งขึ้นเม่ือปี พ.ศ. 2537 ตามมติของสภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่่ึงเป็นโครงการริเริ่มในสมัยรองศาสตราจารย์นรนิติ เศรษฐบุตร (ตําาแหน่ง ทางวิชาการในขณะนั้น) ดําารงตําาแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่านเป็นนักรัฐศาสตร์ที่สนใจด้านประชาธิปไตย และเป็นช่วงเวลาใกล้เคียง กันกับการก่อตั้งสถาบันพระปกเกล้า ซึ่ึ่งเป็นสถาบันที่ดําาเนินการในเรื่อง ประชาธิปไตยเช่นเดียวกัน “หากย้อนไปก่อนหน้าการก่อตั้งศูนย์ศึกษา การพัฒนาประชาธิปไตย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เป็นมหาวิทยาลัย ที่สอนแนวคิดเรื่องประชาธิปไตยอยู่แล้ว ซึ่ึ่งช่ือเดิมของมหาวิทยาลัย คือ มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง ก่อต้ังโดยผู้ประศาสน์การ ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ เมื่อวันที่ 27 มถิ ุนายน 2477 ธรรมศาสตร์ ของพวกเราจึงมีความผูกพันกับเร่ืองการเมืองการปกครองตลอดมา”
ขณะนั้น มีการจัดตั้ง 2 คณะหลัก คือ คณะนิติศาสตร์ สอนเรื่อง กฎหมายรัฐธรรมนูญ กฎหมายการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ สอนเร่ือง การเมอื งการปกครองโดยตรงและมพี นั ธกจิ หลกั คอื การจดั การเรยี นการสอน การทําาวิจัย แต่ศาสตราจารย์พิเศษนรนิติ ที่เป็นนักรัฐศาสตร์และสนใจเรื่อง การเมอื งการปกครอง ตอ้ งการใหธ้ รรมศาสตรม์ เี อกลกั ษณท์ แ่ี ตกตา่ งจากทอ่ี น่ื โดยให้มีหน้าที่ในการฝึึกอบรม การจัดทําาหนังสือเพื่อเผยแพร่ความรู้ด้าน ประชาธิปไตย จึงมีดําาริก่อตั้งศูนย์ศึกษาการพัฒนาประชาธิปไตยขึ้น เมื่อปี พ.ศ. 2537 มกี ารระดมคนจากทงั้ 2 คณะ คอื คณะนติ ศิ าสตรแ์ ละคณะรฐั ศาสตร์ มาเปน็ คณะกรรมการดแู ล มสี ําานกั งานเลก็ ๆ อยทู่ ช่ี นั้ 2 ของหอประชมุ ศรบี รู พา ต่อมากม็ ีคณาจารย์จากคณะอ่ืนๆ ที่สนใจในประเด็นเรอื่ งประชาธิปไตย อาทิ ศาสตราจารย์วุฒิสาร ตันไชย จากคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ ซึ่ึ่งมีความ
สนใจเรอื่ งการปกครองทอ้ งถน่ิ รองศาสตราจารยก์ มลทพิ ย์ แจม่ กระจา่ ง จาก คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ ทสี่ นใจในเรื่องการพัฒนาประชาธิปไตยมาร่วม เป็นคณะกรรมการของศูนย์ศึกษาการพัฒนาประชาธิปไตย
ในปี พ.ศ. 2545 เมื่อ รองศาสตราจารย์นรนิติ หมดวาระอธิการบดี และในฐานะประธานศูนย์ศึกษาการพัฒนาประชาธิปไตย มีความเห็นว่าได้ ก่อตั้งศูนย์ศึกษาการพัฒนาประชาธิปไตยเพื่อดําาเนินกิจกรรมด้านการศึกษา วิจัยและการเผยแพร่การศึกษาเพ่ือพัฒนาประชาธิปไตยต่อเนื่องมาเป็น เวลา 7 ปีแล้ว ศูนย์ศึกษาการพัฒนาประชาธิปไตย ควรจะได้รับการพัฒนา ยกฐานะเป็นสถาบันที่เป็นอิสระจากสําานักงานอธิการบดี จึงได้ขออนุมัติ จากสภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เปล่ียนช่ือจาก “ศูนย์ศึกษาการพัฒนา ประชาธิปไตย” เป็น “สถาบันสัญญา ธรรมศักดิ์ เพอื่ ประชาธิปไตย”
ศาสตราจารย์ ดร.สมคิด เล่าต่อว่า เราจะได้ยินประโยคที่ว่า “มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ทุกตารางนิ้วเป็นดินแดนแห่งเสรีภาพ ที่บุคคล ทุกคนมีสิทธิแสดงความคิดเห็นได้โดยเสรี” คําากล่าวนี้เป็นคําากล่าวของ ศาสตราจารย์สัญญา ธรรมศักดิ์ แต่ศาสตราจารย์สัญญาไม่ได้พูดว่า ธรรมศาสตร์มีเสรีภาพเท่านั้น แต่ธรรมศาสตร์ต้องมีหน้าที่ด้วย ในเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 ศาสตราจารย์สัญญา ธรรมศักดิ์ ได้รับการโปรดเกล้าฯ แตง่ ตงั้ ใหด้ ําารงตําาแหนง่ “นายกรฐั มนตร”ี เพอื่ แกไ้ ขปญั หาประชาธปิ ไตยของ ประเทศในขณะนน้ั โดยมี จอมพลถนอม กติ ตขิ จร จอมพลประภาส จารเุ สถยี ร พันเอกณรงค์กิตติขจรครองอาํานาจหลังการรัฐประหารตง้ัแต่พ.ศ.2505 เปน็ ตน้ มา จนเกดิ การประทว้ งครง้ั สําาคญั หลงั จากมรี ฐั ธรรมนญู ปี พ.ศ. 2515 นักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นําาโดยนายเสกสรรค์ ประเสริฐกุล นายธรี ยทุ ธ บญุ มี และอกี หลายคน เดนิ ขบวนและลม้ อําานาจเผดจ็ การทง้ั 3 คน ลงไป ท่านศาสตราจารย์สัญญา เป็นแบบอย่างทางการเมือง ท่ีแก้ไขปัญหา ภาวะทางวิกฤตบ้านเมือง โดยการประนีประนอมอย่างย่ิงเท่าท่ีจะทําาได้ ท่าน
  8 เรื่องเล่าของสัญญา
เรื่องเล่าของสัญญา 9




























































































   11   12   13   14   15