Page 25 - หนังสือเรื่องเล่าของสัญญา
P. 25
รองศาสตราจารย์ ดร.วรรณภา ติระสังขะ อดีตผู้อําานวยการศูนย์ ประชาธิปไตยและพลเมือง สําานักงานสัญญาธรรมศักด์ิเพื่อประชาธิปไตย เล่าเรื่องในวันวานจากโต๊ะทําางานของศูนย์ประชาธิปไตยและพลเมืองว่า ในฐานะอดีตผู้อําานวยการศูนย์ประชาธิปไตยและพลเมือง ภายใต้สําานักงาน สัญญาธรรมศักดิ์เพื่อประชาธิปไตย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในช่วงปี พ.ศ. 2559-2562 เป็นช่วงเริ่มแรกของการดําาเนินการกิจกรรมต่างๆ ของ ศนู ยป์ ระชาธปิ ไตยและพลเมอื ง ในชว่ งเรมิ่ ตน้ ศนู ยป์ ระชาธปิ ไตยและพลเมอื ง มีพันธกิจหลักในเร่ืองของการ “ส่งเสริมประชาธิปไตย” และ “สร้างกลไก ความเป็นพลเมือง” ผ่านกิจกรรมต่างๆ ของศูนย์ประชาธิปไตยและพลเมือง ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของการจัดงานสัมมนาและเสวนาทางวิชาการเพื่อให้ความ รู้กับประชาชนในเร่ืองของประชาธิปไตยและพลเมือง โดยเฉพาะในเรอื่ งของ การจัดทําาหนังสือที่ว่าด้วยเรื่องของการส่งเสริมความรู้และช่วยให้ประชาชน ท่ัวไปมีความเข้าใจในเรื่องของ “ประชาธิปไตย” และ “ความเป็นพลเมืองใน ระบอบประชาธิปไตย” ศูนย์ประชาธิปไตยและพลเมือง จึงได้ดําาเนินการจัด ทําาหนังสือ 2 เล่ม ดังนี้
“บทสนทนาหลากมุม ต่างมอง รัฐธรรมนูญ 2560” ซึ่ึ่งตนเองรับ ผิดชอบในฐานะบรรณาธิการหนังสือ โดยเนื้อหาของหนังสือเล่มนี้มุ่งเน้นไป ที่การสําารวจความคิดเห็นของคนกลุ่มต่างๆ ในสังคมไทย ผ่านรูปแบบของ บทสนทนาเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2560 ท่ีช่วงเวลาน้ันรัฐธรรมนูญ ฉบับดังกล่าวเพ่ิงมีการประกาศใช้เม่ือวันท่ี 6 เมษายน พ.ศ. 2560 ทําาให้ ศูนย์ประชาธิปไตยและพลเมือง จึงเห็นความสําาคัญของการสร้างบทสนทนา ผา่ นรฐั ธรรมนญู ฉบบั ดงั กลา่ ว เพอื่ เปน็ การเรยี นรู้ ทําาความเขา้ ใจ และสะทอ้ น ความเหน็ ของคนหลากหลายกลมุ่ ความคดิ ในสงั คมไทยตอ่ การมองรฐั ธรรมนญู พ.ศ. 2560 ในช่วงเวลานั้น ด้วยจุดมงุ่ หมายของการจัดทําาหนังสือบทสนทนา หลากมุม ต่างมอง รัฐธรรมนูญ 2560 วางตัวอยู่บนรูปแบบของการสร้าง
บทสนทนาเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญเพื่อเป็นการเรียนรู้และทําาความเข้าใจใน เรื่องของรัฐธรรมนูญและการปกครองในระบอบประชาธิปไตยซึ่่ึงนับเป็น เป้าประสงค์หลักของการดาํา เนินงานของศูนย์ประชาธิปไตยและพลเมือง
“ประชาธปิ ไตย หลากความหมาย หลายรปู แบบ” หนงั สอื เลม่ นไ้ี ด้ รองศาสตราจารย์ ดร.ประจักษ์ ก้องกีรติ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ มารบั หนา้ ทเี่ ปน็ ผเู้ ขยี น และถา่ ยทอดเรอื่ งราวของ “ประชาธปิ ไตย” ท่ีในปัจจุบันมีการนําาเอาคําาคุณศัพท์มาต่อท้ายคําาว่าประชาธิปไตย ซึ่ึ่งส่งผล ให้คําาว่าประชาธิปไตยมีความหมายและมีความไหลเลื่อนมากยิ่งขึ้นตาม คําาคณุ ศพั ทท์ ตี่ อ่ ทา้ ยประชาธปิ ไตย ดงั นน้ั ประชาธปิ ไตย หลากความหมาย หลาย รปู แบบจงึ เปน็ หนงั สอื อกี เลม่ หนงึ่ ทส่ี ะทอ้ นเปา้ ประสงคข์ องการดําาเนนิ งานของ ศูนย์ประชาธิปไตยและพลเมืองได้เป็นอย่างดี เพราะในความเป็นจริงแล้ว ความหมายของประชาธปิ ไตยอาจจะมหี ลากหลายรปู แบบและไหลเลอ่ื นเคลอ่ื นตวั ได้ตลอดเวลา แต่แท้จริงแล้วประชาธิปไตยมีแก่นแกนบางอย่างของคําาท่ี สะทอ้ นความหมายของคําาทชี่ ดั เจน และหนา้ ทขี่ องประชาธปิ ไตยและพลเมอื ง ก็คือการสะท้อนให้ประชาชนได้รับรู้และมองเห็นถึงแก่นแกนท่ีสําาคัญของท้ัง ความเปน็ “ประชาธปิ ไตย” และความเปน็ “พลเมอื งในระบอบประชาธปิ ไตย”
นอกจากหนังสือทั้ง 2 เล่มที่ได้กล่าวถึงไปแล้วนั้น ในช่วงเวลาเร่ิม แรกของการดําาเนินการศูนย์ประชาธิปไตยและพลเมือง ได้มีการจัดกิจกรรม งานสัมมนาและเสวนาวิชาการต่างๆ ร่วมกันกับภาคีเครือข่ายทางวิชาการ และไดม้ กี ารจดั กจิ กรรมในการตดิ ตามผลในเรอื่ งของการจดั การเลอื กตงั้ ทวั่ ไป ท่ีห่างหายไปหลายปีภายหลังจากการรัฐประหารเม่ือวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 อีกท้ังศูนย์ประชาธิปไตยและพลเมืองยังได้มีการเผยแพร่ความรู้ และข่าวสาร สาระสําาคัญท่ีเกี่ยวข้องกับเรอื่ งของความเป็นประชาธิปไตยและ ความเป็นพลเมืองทเ่ี ก่ียวโยงกับสังคมไทยและสังคมโลกอยเู่ สมอ
32 เรื่องเล่าของสัญญา
เร่ืองเล่าของสัญญา 33