Page 27 - หนังสือเรื่องเล่าของสัญญา
P. 27

รองศาสตราจารย์ ดร.นิรมล สุธรรมกิจ อดีตผู้อําานวยการศูนย์ ประชาธิปไตยและพลเมือง สําานักงานสัญญาธรรมศักดิ์เพ่ือประชาธิปไตย ปัจจุบันเป็นประธานคณะกรรมการสตรี เยาวชน และครอบครัวศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เล่าว่า ในช่วงที่ดําารงตําาแหน่งผู้อําานวยการศูนย์ ประชาธิปไตยและพลเมือง เป็นช่วงรอยต่อท่ีโครงการสตรี เยาวชน และ ครอบครวั ศกึ ษาเขา้ มาสงั กดั ภายใตศ้ นู ยป์ ระชาธปิ ไตยและพลเมอื ง สําานกั งาน สญั ญาธรรมศกั ดเิ์ พอ่ื ประชาธปิ ไตยและในฐานะทเี่ ปน็ ประธานคณะกรรมการ สตรี เยาวชน และครอบครัวศึกษาด้วย จึงผลักดันงานหรือโครงการด้าน เกี่ยวกับสตรี ให้มีบทบาทมากยิ่งขึ้น ท้ังโครงการที่ได้ดําาเนินการไว้แล้วต่างๆ ท่ีได้สร้างประโยชน์ให้แก่สังคมและสาธารณะ ได้เสริมสร้างบทบาทสตรี และ เรียนรู้เยาวชนว่ามีการปรับตัวอย่างไรต่อกระแสสังคมท่ีเปล่ียนไป รวมทั้ง บทบาทในส่วนของพ่อแม่ที่มีต่อเยาวชน ซึ่ึ่งเป็นงานหลักของโครงการสตรีฯ เพราะสตรแี ละเยาวชน นบั วา่ เปน็ หนงึ่ ในพลเมอื งของสงั คม ในสว่ นของเยาวชน ในตา่ งจงั หวดั มแี ผนจะดําาเนนิ การจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ มากมาย แตย่ งั ไมไ่ ดล้ งมอื ทําามากนัก จะเน้นหนักไปในด้านของสตรีเป็นหลัก ให้มีโอกาสทางการเมือง ทางเศรษฐกิจ การทําามาหากิน และการมีสิทธิในการออกเสียงให้มากยิ่งข้ึน ใ น อ ด ตี ท ผี ่ า่ น ม า ง า น ด า้ น ส ต ร ไี ด ด้ ํา า เ น นิ ก า ร เ ก ยี ่ ว ก บั ก อ ง ท นุ พ ฒั น า บ ท บ า ท ส ต ร ,ี สิทธิในการบวชของสตรี (ภิกษุณี) และบทบาทความหลากหลายทางเพศ ที่อาจถูกล่วงละเมิดในชุมชน การทําางานจะเน้นการลงพื้นที่ในชุมชนเพราะ เรามีเครือข่ายในชุมชนมากพอสมควรท่ีผู้หญิงมีบทบาท เช่น นายกองค์การ บริหารส่วนตําาบล เป็นต้น โดยโครงการสตรีฯ พยายามให้ความรู้และสร้าง ศักยภาพใหก้ ับสตรี และเยาวชน
ประธานคณะกรรมการสตรีฯ ได้ขยายคําาว่า “สตรี” ว่าในโครงสร้าง ประชากรของสตรที ท่ี ําางานในสงั คมไทยนน้ั มลี กั ษณะเปน็ พรี ะมดิ ในสว่ นทเี่ ปน็ ยอดพรี ะมดิ สตรที ที่ ําางานแบง่ ออกเปน็ 2 ระดบั คอื ผทู้ เ่ี ปน็ ผบู้ รหิ ารระดบั สงู ของ
ภาครัฐ ภาคเอกชน ผู้ที่ดาํา รงตําาแหน่งทางการเมือง ที่มสี ิทธิการออกเสียงได้ อีกระดับคือ เป็นส่วนตรงกลางหรือด้านล่าง เป็นคนส่วนใหญ่ที่มีรายได้ น้อยและเป็นคนส่วนใหญ่ของสังคม ผู้หญิงมีบทบาทการหารายได้ช่วย เหลือครอบครัว นอกเหนือจากการเล้ียงบุตร ซึ่ึ่งมีท้ังเล้ียงบุตรเอง และส่ง ให้สถานช่วยรับเล้ียงบุตร หรือส่งกลับให้ปู ย่า ตา ยาย ช่วยเล้ียง ในส่วน ของกลุ่มน้ีควรจะหาสวัสดิการให้มากกว่าการพัฒนาบทบาทสตรี การที่ ผู้หญิงต้องหาเล้ียงตัวเอง และส่งบุตรให้พ่อแม่ช่วยเลี้ยงน้ัน มีมานานใน สังคมไทย แต่สภาพปัจจุบัน แม่ไม่ค่อยมีโอกาสกลับไปหาลูก การสัมผัส ทางกายและทางใจท่ีให้ความรู้สึกเชิงบวกจะลดน้อยลง (เช่น การกอดกัน การส่งสายตาท่ีห่วงใย ฯลฯ) ซึ่่ึงเชื่อว่าการได้พบ พูดคุย การสัมผัสกันจะช่วย เสริมสร้างความผูกพันได้มากกว่าการพูดคุยผ่านโทรศัพท์ ซึ่ึ่งสังคมยังขาดใน ส่วนนี้ ส่ิงที่ตนอยากผลักดันให้เกิดขึ้น คือ ให้มีสถานรับเลี้ยงดูเด็กภายใน โรงงาน/องค์กร มากยิ่งขึ้น
อีกประการที่โครงการสตรีฯ พยายามผลักดันคือการพัฒนาสตรี ท่ีทําางานในตําาแหน่งระดับกลางข้ึนไปยังตําาแหน่งระดับสูง แต่ก็ยังมีเพดาน การพัฒนาที่เรียกว่า “เพดานแก้ว” ซึ่ึ่งเกิดจากนายจ้างหรือผู้นําามองว่า ไม่เหมาะสม เช่น ระดับผูบ้ ริหารที่ต้องดูแลลูกค้า ทาํา หน้าที่พูดคุยเจรจาธุรกิจ สง่ผลใหเ้กดิวฒันธรรมการกนิเลยี้งในชว่งกลางคนืแตใ่นฐานะของคนเปน็แม่ ทมี่ ลี กู จะตอ้ งกลบั มาเลย้ี งดลู กู ทําาใหผ้ หู้ ญงิ เกดิ ความลําาบากในการสรา้ งความ สมดลุ โอกาสในการกา้ วหนา้ ไปอยใู่ นระดบั สงู กอ็ าจจะยากขนึ้ เพราะสงั คมไทย ไมค่ อ่ ยเปดิ โอกาสในสว่ นน้ี อาชพี ทเี่ หน็ ไดช้ ดั เจนวา่ การไปทําางานแลว้ สามารถ กลับมาเลยี้ งดูลูกได้ คือการเป็นดารานักแสดง ท่ีสามารถเปลี่ยนบทบาทการ ทําางาน และทําาหน้าที่การเล้ียงดูลูกไปพร้อมกันได้ แต่ถ้าเป็นผู้จัดการหรือ พนักงานบริษัทเอกชน หากขอลาเพ่ือไปเล้ียงดูลูก เมื่อกลับเข้ามาทําางาน ตามปกตกิ ็ไม่สามารถดาํา รงตําาแหน่งเดิมได้ เป็นต้น ดังนนั้ การพัฒนาโอกาส
  36 เรื่องเล่าของสัญญา
เร่ืองเล่าของสัญญา 37





























































































   25   26   27   28   29