Page 114 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม
P. 114

46
ไม่มีสมาธิหรือไม่สงบ แต่การที่จะสงบไม่ใช่ว่าห้ามคิด ไม่ต้องไปปฏิเสธว่าอย่าคิดนะ ไม่ต้องหงุดหงิดกับ ความคิด เพียงแต่ให้มีสติกาหนดรู้ถึงความคิดที่กาลังเกิดขึ้นว่าเกิดแล้วดับอย่างไร เกิดขึ้นมา-ดับแบบนี้ เกิดขึ้นมา-ดับเร็วหรือดับช้า รู้ให้ทัน มันจะเกิดใหม่ มันจะเกิดใหม่... เมื่อสติเราไวขึ้น รู้ทันความคิด มากขึ้น จิตก็จะค่อย ๆ สงบและเป็นระเบียบ เมื่อจิตเป็นระเบียบขึ้น มีสมาธิมากขึ้น ความคิดก็จะค่อย ๆ น้อยลง น้อยลง... แล้วก็หมดไปในที่สุด
และอีกอย่างหนึ่งก็คือ เวลามีความคิดเกิดขึ้น สังเกตนิดหนึ่งว่า “ความคิดที่เกิดขึ้น” กับ “จิตที่ทา หน้าที่รู้” เขาเป็นส่วนเดียวกันหรือคนละส่วนกัน อันนี้เป็นสิ่งสาคัญอย่างยิ่ง เพราะอะไร ? การที่เราสังเกต เหน็ วา่ ความคดิ ทเี่ กดิ ขนึ้ กบั จติ ทที่ าหนา้ ทรี่ เู้ ปน็ คนละสว่ นกนั เรากจ็ ะรอู้ ยา่ งสงบได้ ถงึ แมจ้ ะมคี วามคดิ เยอะ แยะมากมาย เราก็รับรู้ถึงเรื่องราวที่กาลังคิดอยู่อย่างมีสติ ตรงนี้แหละสาคัญ เพราะความคิดต่าง ๆ เป็น ต วั ท จี ่ ะ ท า ใ ห เ้ ร า เ ข า้ ใ จ เ ร อื ่ ง ร า ว ก า ร ง า น ท เี ่ ร า จ ะ ท า แ ล ะ ป ร ะ โ ย ช น ท์ จี ่ ะ เ ก ดิ ข นึ ้ ท สี ่ า ค ญั ค อื เ ร า ต อ้ ง ม สี ต ริ บั ร เ้ ู ร อื ่ ง ราวหรือความคิดที่เกิดขึ้น ถ้ามีสติเมื่อไหร่เราก็จะนิ่งขึ้นสงบขึ้น ถึงความคิดมีอยู่แต่จิตเราก็จะสงบ เมื่อจิต เราสงบเป็นระเบียบขึ้น ปัญญาคือความเข้าใจในเรื่องที่คิดก็จะชัดเจนขึ้นมา อันนี้คืออย่างหนึ่ง
อีกอย่างหนึ่งคือ นอกจากการเข้าใจเรื่องที่คิดแล้ว ตอนที่เรานั่งกรรมฐานนั่งสมาธิอยู่ ถ้าอยากให้ สติเราดีสมาธิดียิ่งขึ้น เราก็เปลี่ยนมาเป็น “พอใจที่จะรู้อาการเกิดดับของความคิด” พอมีความคิดเกิดขึ้น เกิดขึ้นมาแล้วดับอย่างไร สนใจการเกิดดับอย่างเดียว เรื่องราวที่กาลังคิดอยู่ไม่ต้องใส่ใจ ยังไงก็รู้อยู่แล้ว ว่าเราคิดถึงสิ่งนั้นคิดถึงสิ่งนี้ แต่ที่สาคัญที่ควรใส่ใจเป็นพิเศษก็คือว่า คิดถึงเรื่องนี้แล้วเขาดับยังไง คิดถึง สิ่งนี้แล้วดับอย่างไร คิดถึงบุคคลนี้แล้วเขาดับอย่างไร หมดไปหายไปอย่างไร ถ้าเรามีเจตนาที่จะรู้แบบนี้ ความสับสนความวุ่นวายอาการกระสับกระส่ายก็จะลดลงน้อยลง บางครั้งเราใช้เวลาห้านาทีสิบนาทีความ คิดก็น้อยลง แล้วก็จบไป เปลี่ยนเป็นความสงบความนิ่งขึ้นมา นี่คือสภาวะที่จะเกิดขึ้น
ที่บอกว่าสติปัฏฐานสี่ มีอารมณ์อยู่สี่อย่างที่เป็นที่ตั้งของการเจริญสติ และเป็นสิ่งที่ผู้ปฏิบัติจะต้อง ตามกาหนดรู้ถึงการเกิดขึ้น-ตั้งอยู่-ดับไปหรือกฎของไตรลักษณ์ หนึ่ง-ก็คือลมหายใจเข้า-ออกหรืออาการ ของยุบ สอง-ก็คือความปวด อาการเมื่อย อาการชา อาการคันที่เกิดขึ้น ที่เรียกว่าเป็นเวทนา สาม-ก็คือ ความคิด อย่างที่บอกแล้วความคิดตรงนี้เป็นเรื่องของจิต แต่เรื่องของจิตอีกอย่างหนึ่งที่นอกจากคิดโน่น คิดนี่แล้ว เวลามีความทุกข์ใจความไม่สบายใจเกิดขึ้น อย่างเช่น เวลาคิดแล้วไม่สบายใจ ก็มีสติกาหนด รู้ถึงความไม่สบายใจ ดับความไม่สบายใจ ดับความไม่พอใจความหงุดหงิดใจ
วธิ กี ารดบั ความรสู้ กึ ทไี่ มส่ บายใจไมพ่ อใจ คอื ทา ใจใหก้ วา้ ง ๆ ขยายใจใหก้ วา้ ง ๆ แลว้ ความทกุ ขน์ นั้ จะลดลงเร็วขึ้น ตอนนี้เราแยกกันระหว่าง “ความรู้สึกไม่สบายใจ” กับ “จิตที่ทาหน้าที่รู้” จริง ๆ แล้วใช้หลัก การเดียวกันกับการที่เรากาหนดลมหายใจหรือความคิดเมื่อกี้ ให้เห็นเป็น “คนละส่วนกัน” เวลาไม่สบายใจ จิตเราจะหดลงแคบลง พอแคบลง มีตัวตน อะไรมากระทบก็จะมีความไม่สบายใจมีความขุ่นมัวเกิดขึ้น แต่ถ้าเราขยายจิตของเราให้กว้างออก ทาจิตให้กว้าง ๆ ความอึดอัดความไม่สบายก็จะลดลง ตั้งสติให้ดี แล้วก็ขยายจิตให้กว้าง กว้าง กว้าง...ออกไป จะช่วยคลายความแน่นความอึดอัดได้เร็วขึ้น เป็นการดับ เป็นการคลายอุปาทาน อันนี้อย่างหนึ่ง


































































































   112   113   114   115   116