Page 127 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม
P. 127

59
ความเป็นไปของธรรมชาติ ของรูปนามอันนั้น ๆ อย่างเดียว คือก็พิจารณาด้วยความบริสุทธิ์ใจ รู้ตามความ เป็นจริงที่เกิดขึ้น พ้นจากความรู้สึกว่าเป็นเรา กาหนดรู้ในลักษณะอย่างนี้ เป็นต้น
เพราะฉะนั้นทุกครั้งที่เจริญกรรมฐาน เราได้มา เอ่อ! กล่าวสมาทานกรรมฐานปฏิบัติธรรม มี เจตนาที่จะพัฒนาสติ สมาธิ ปัญญาของเราให้แก่กล้ามากขึ้น เพื่อความเข้าใจในสัจธรรม เพื่อการละ การ ปล่อย การวาง ความอิสระ ความสงบของจิต ก็ขอให้เราตั้งใจทาตามเต็มที่ ตามกาลังความสามารถของเรา เพื่อการพัฒนาสติ สมาธิ ปัญญาของเราให้ดียิ่ง ๆ ขึ้นไป เพื่อความอิสระของจิตเรา เพราะฉะนั้นขอให้เรา ตั้งใจกัน
ต่อไปอาจารย์จะไม่ใช้เสียง เจริญกรรมฐานอีกสักนิดหนึ่ง ก่อนที่จะเปลี่ยนอิริยาบถกัน การเจริญ กรรมฐานเพื่อความต่อเนื่อง ขอให้เราพัฒนาจากปัจจุบัน พิจารณาจากสภาพปัจจุบัน สภาวะปัจจุบัน ไม่ว่า จะเป็นอาการเกิดดับ ไม่ว่าจะเป็นสภาพจิต จากที่ผ่านมาเป็นอย่างไร ณ ปัจจุบันนี้เป็นอย่างไร สานต่อไป แล้วก็ดูว่าสภาวธรรมปัจจุบันต่างจากที่ผ่านมาอย่างไร เปลี่ยนไปอย่างไร เพื่อการเดินไปข้างหน้า เพื่อความ ก้าวหน้าในธรรมยิ่ง ๆ ขึ้นไป
หลักการทั้งหมดที่อาจารย์พูดมา นั่นเป็นหลักการโดยทั่วไป โดยรวม เป็นอารมณ์หลัก ๆ ของ การเจริญวิปัสสนากรรมฐาน อารมณ์หลัก ๆ ทั้ง ๔ อย่างที่เกิดขึ้น อารมณ์หลักทั้ง ๔ อย่างนั้นเป็นสิ่งที่ เกิดขึ้น เมื่อไหร่ก็ตามที่เราเจริญกรรมฐาน อารมณ์เหล่านั้นเกิดขึ้นแน่นอน ไม่จะเป็นเวทนา เป็นความคิด เป็นความสุข เป็นความเบา เป็นความสงบ สภาวธรรมเหล่านั้นเป็นเรื่องปกติที่จะเกิดขึ้น ซึ่งจะสามารถเอา มาเป็นอารมณ์หลัก ในการเจริญวิปัสสนากรรมฐานของเราได้เสมอ
แต่หลักการของการเจริญวิปัสสนากรรมฐาน เพื่อให้พัฒนาปัญญาของเรา มีเป้าหมายเพื่อพัฒนา ปัญญาของเรา เพื่อให้เห็นสัจธรรมความเป็นจริงของรูปนามแล้ว จึงพิจารณาถึงกฎไตรลักษณ์ การเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไปเป็นสาคัญ พิจารณาการเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไปของทุก ๆ อารมณ์ที่เกิดขึ้น ของอารมณ์หลัก ทั้ง ๔ อย่างที่เกิดขึ้น กาหนดรู้ถึงการเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป รู้ถึงความเป็นอนิจนัง ทุกขัง อนัตตา นั่นคือ พิจารณาให้เห็นตามความเป็นจริง ของธรรมชาติรูปนามที่กาลังเป็นไปตามเหตุตามปัจจัยอยู่
เพราะฉะนั้นไม่ว่าอารมณ์ไหนเกิดขึ้นมาก็ตาม ผู้ปฏิบัติ...ให้ใส่ใจควรที่จะใส่ใจถึงกฎไตรลักษณ์ เป็นสาคัญ การเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป หรือความเป็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตาเป็นสาคัญ ในทุก ๆ ขณะ ใน ทุก ๆ อารมณ์ ไม่ว่าจะเป็นอาการทางกาย หรือทางใจก็ตาม ให้กาหนดรู้ในลักษณะอย่างนี้ และเมื่อการ กา หนดรอู้ าการเกดิ ดบั แบบนที้ กุ ๆ อารมณท์ เี่ กดิ ขนึ้ มา เราไดเ้ รยี นรอู้ ะไร ไดเ้ หน็ อะไร สง่ ผลตอ่ สภาพจติ ใจ เป็นอย่างไร นั่นคือผลที่จะเกิดขึ้นโดยตรง
ถามว่าส่งผลต่อสภาพจิตใจอย่างไร อย่างเช่นเราเดินจงกรม พิจารณาอาการเกิดดับของการเดินไป เรื่อย ๆ ทาให้จิตตั้งมั่นขึ้น มีความตื่นตัวขึ้น มีความสงบขึ้น มีความผ่องใสขึ้น นั่นคือผลที่เกิดขึ้นโดยตรง จากการกาหนดรู้อารมณ์ปัจจุบันที่กาลังเกิดขึ้นอยู่ ขณะที่มีสติ มีความสงบ จิตมีความสงบขึ้น มีความ


































































































   125   126   127   128   129