Page 194 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม
P. 194

126
ทีนี้ การรู้สภาพจิต ที่บอกว่าสภาพจิตให้ว่าง ๆ ให้กว้าง ๆ ตอนที่กาหนดอิริยาบถย่อยนี่ จิตที่ ว่าง ๆ ที่กว้าง ๆ เขาจะเป็นทั้งกาลังของสมาธิและสติ เวลาจะขยับจะหยิบจะจับจะเคลื่อนไหวนี่เราจะรู้ทัน เพราะสติเรากว้างกว่าอาการ เพราะฉะนั้น จะขยับจะหันซ้ายหันขวาเหมือนอยู่ในสายตาของสติ มันจะรู้ทัน รู้ทัน ไปเรื่อย ๆ อีกอย่างหนึ่ง สิ่งที่เราควรสังเกตในขณะที่กาหนดอารมณ์ในอิริยาบถย่อย - ตอนที่เรานั่ง จิตเราว่าง จิตที่ว่าง ๆ บอกว่าไม่เป็นเรา เวลากาหนดอิริยาบถย่อยก็เหมือนกัน ทาจิตให้ว่าง ๆ จะให้ดีกลับ มาดูว่าจิตที่ทาหน้าที่รู้เขาบอกว่าเป็นเราไหม ? ร่างกายหรือตัวที่กาลังเคลื่อนไหวเขาบอกว่าเป็นเราหรือเปล่า ?
ทาไมถึงถามว่าเขาบอกว่าเป็นเราหรือเปล่า ? ให้ไปถามเขาดูว่าตัวที่นั่งอยู่เขาบอกว่าเป็นเราไหม ? แล้วจิตที่ทาหน้าที่รู้เขาบอกว่าเป็นเราไหม ? ทาไมถึงตั้งคาถามอย่างนี้ ? การตั้งคาถามอย่างนี้ เราจะไม่คิด เขา้ ขา้ งตวั เอง จะไมค่ ดิ เขา้ ขา้ งคนอนื่ และไมค่ ดิ เขา้ ขา้ งสภาวะทเี่ กดิ ขนึ้ บางทเี ราไมไ่ ดถ้ ามตวั เองอยา่ งนี้ คดิ ว่า ใช่-ไม่ใช่ เอ๊ะ! เราคิดเอาเองหรือเปล่า.... มันไม่ใช่อย่างนั้น! แค่เราคิดว่าเราคิดเอาเอง มันก็เป็นอาการ คิดทั้งหมดแล้ว แต่ถ้าเราสังเกตดูว่า มีเราไหม ? หรือเขาปรากฏแบบนั้นจริง ๆ ? อันนี้เป็นตัวคาตอบว่า ไม่มีตัวตนแล้วเป็นอย่างไร
ขณะที่ไม่มีตัวตนแบบนี้ ในการกาหนดอิริยาบถย่อยนี่ เราจะเห็นถึงธรรมชาติของรูปนามที่กาลัง ทางาน ที่โบราณเขาบอกว่า “จิตเป็นนาย กายเป็นบ่าว” นั้นเป็นอย่างไร เวลาจะขยับแต่ละที รู้สึกจิตมันสั่ง ก่อนไหมก่อนที่จะขยับ ? เวลาจะกระพริบตา จิตเขาสั่งก่อนไหมก่อนที่จะกระพริบตา ? ก่อนที่จะอ้าปาก พดู แตล่ ะคา นี่ จติ เขาสงั่ กอ่ นไหม ? การทจี่ ะเหน็ วา่ จติ สงั่ กอ่ นหรอื เปลา่ เปน็ การเพมิ่ ตรงทเี่ ขาเรยี กวา่ “กา หนด ต้นจิต”
ต้นจิต คือ จิตที่ทาหน้าที่รู้ก่อนที่จะขยับ รู้ก่อนที่จะเคลื่อนไหว หรือจิตที่ทาหน้าที่สั่งให้กายมีการ ขยับมีการเคลื่อนไหวเกิดขึ้น ลองสังเกตดู แม้แต่ตาเรานี่ ลองลืมตาไว้ ถ้าจิตไม่สั่ง เขาจะกระพริบไหม ? ลองลืมตานาน ๆ ลองดู รู้สึกเป็นอย่างไร ? ตอนที่จะกระพริบตานี่จิตเขาสั่งก่อนไหม ? ถ้าไม่สั่ง ลองดูว่า เขาจะกระพริบไหม ? เอ้อ! จิตไม่สั่งมันก็กระพริบนะ แต่จริง ๆ แล้วเพราะเราไม่เห็นว่าจิตเขาสั่ง เพราะบาง ครั้งเขาไม่ได้สั่งเป็นภาษาหรอก...
เขาสงั่ วา่ รสู้ กึ ทนไมไ่ ดแ้ ลว้ นะ ลมเขา้ ตาเรมิ่ แสบแลว้ นะ ตาเรมิ่ แหง้ เรมิ่ เคอื ง รสู้ กึ วา่ ตอ้ งกระพรบิ ตา เพอื่ ไมใ่ หต้ าแหง้ รสู้ กึ นดิ หนงึ่ กอ่ นทจี่ ะกระพรบิ นนั่ คอื จติ ทสี่ งั่ ใหร้ า่ งกายทา งานเพอื่ ปกปอ้ งตวั เอง นคี่ อื ตน้ จติ หรอื ขณะแรกของจติ หรอื วถิ จี ติ การทา งานของจติ ทบี่ างทเี ราไมเ่ หน็ เราคดิ วา่ มนั กท็ า ไปตามสญั ชาตญาณ แลว้ อะไรคอื ตวั สญั ชาตญาณสงั่ ใหท้ า ? กต็ วั จติ ทบี่ อกวา่ มนั ทา ไปโดยสญั ชาตญาณ ไมป่ ระกอบดว้ ยเจตนา ไม่ประกอบด้วยปัญญา สัญชาตญาณ - ทาไปเพราะความเคยชินหรือเปล่า ?
ที่จริงการสังเกตต้นจิตแบบนี้ ปัญญาอย่างหนึ่งที่เกิดขึ้นมา อันนี้อยากให้โยคีสังเกตเอง ลองดูว่า ขณะที่เราเห็นจิตสั่งก่อนที่จะขยับ ก่อนที่จะกระพริบตา ก่อนที่จะเคลื่อนไหว ก่อนที่จะอ้าปาก... ขณะที่เรา สังเกตเห็นจิตมันรู้ก่อน รู้ก่อน รู้ก่อน สั่งก่อนนี่ จิตใจเรารู้สึกเป็นอย่างไร ? สติเรารู้สึกเป็นอย่างไร ? (โยคี กราบเรียนว่า มั่นคง) เออ! นี่ชัดเจน จิตจะตั้งมั่น มั่นคง ชัดเจนในอารมณ์ที่เกิดขึ้น เขาจะมีความชัดเจน


































































































   192   193   194   195   196