Page 231 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม
P. 231

163
นิ่งมันตึงไม่ค่อยสบาย ก็เลยรู้สึกว่ากลัวที่จะตามอาการ กลัวว่าจะเป็นการจ้อง แล้วจะรู้สึกตึง ๆ ที่หน้า บางทีบางคนจะตึงตรงนี้จะเป็นก้อนแน่น ๆ ตรงบริเวณหน้าผาก จริง ๆ แล้วเกิดจากสมาธิเรา ถ้าตึงตรงนี้ ไม่ต้องกังวลหรอก ไม่ใช่ความเครียด แต่ข้าง ๆ นี่เครียดแน่นอน ปวดหัวข้าง ๆ นี่นะ อาการเครียด สังเกต ปวดหัวข้าง ๆ ตรงนี้ จะเกิดจากความเครียด
แต่อาการเคร่งตึงเวลาเรามีสมาธิใช้สมาธิเยอะ ๆ สังเกตไหมเขาจะตึงข้างหน้า เวลาตึงอย่างนั้น ต้องคิดปลอบใจตัวเองอย่างหนึ่งนะ เดี๋ยวตาที่สามกาลังจะเปิดแล้ว จะได้ไม่ต้องกังวล เราก็เอาจิตที่ว่าง ๆ มากาหนดรู้แล้วเขาก็จะคลาย จิตที่ว่าง ๆ เข้าไปแล้วก็คลาย ๆ แล้วก็รู้สึกใหม่ แต่ถ้าใช้ความรู้สึก จิตเรา เข้าไปรู้สึกถึงอาการเลยนี่นะ อาการเคร่งตึงตรงนี้เขาจะลดลงเช่นเดียวกัน เพราะสติมากขึ้น สติกับสมาธิ สมดุลกันปุ๊บ อาการเคร่งตึงต่าง ๆ เขาจะคลายลง เขาจะลดลง มีกาลังมากขึ้น อาการนี้เขาเปลี่ยนเอง มี ผลเกิดจากจิตของเรา อาการเหล่านี้จึงต้องสังเกต
วิธีการสังเกตก็คือว่า อาการเคร่งตึงที่เกิดขึ้นไม่ได้เกิดจากกิเลส ไม่ได้เกิดจากความโลภหรือโทสะ อนั นตี้ อ้ งสงั เกต แลว้ ลองดวู า่ มตี วั ตนไหม ถา้ ไมม่ ตี วั ตนเปน็ แคอ่ าการเครง่ ตงึ พอเปน็ แคอ่ าการเครง่ ตงึ แลว้ สภาพจติ เราเปน็ อยา่ งไร นงิ่ แคไ่ หนสงบแคไ่ หน อาการเครง่ ตงึ นถี้ งึ เกดิ ขนึ้ นคี่ อื จดุ ทเี่ ราตอ้ งพจิ ารณาสารวจ ตรวจสอบดู อาการที่เกิดขึ้นนั้นเกิดเพราะอะไร จริง ๆ แล้วคล้าย ๆ กับ พอเรามีสมาธิมาก ๆ แล้วรูปนี้ เป็นแท่งเหมือนก้อนหิน เป็นแท่งที่ตั้งอยู่ ตรงนี้คือเกิดจากสมาธิ เพราะฉะนั้นไม่ใช่ว่าอาการเคร่งตึงเกิดขึ้น แลว้ จะเปน็ สงิ่ ทไี่ มด่ ที งั้ หมด ตรงนแี้ หละจงึ บอกวา่ การปฏบิ ตั ธิ รรมทเี่ ราตอ้ งใชป้ ญั ญาพจิ ารณาใหแ้ ยบคาย ผลทเี่ กดิ ขนึ้ จากการกระทา ของเรานนั้ ผลนมี้ าจากอะไร เราจะไดแ้ กท้ กี่ ารกระทา ของเราใหถ้ กู ปรบั ใหเ้ หมาะ สมกับสภาวะที่เกิดขึ้น
ตรงนี้แหละที่ใช้ปัญญาพิจารณาสภาวธรรม ไม่ใช่นั่งคิดอย่างเดียว ไม่ใช่ว่าอาจารย์บอกว่าใช่ก็ใช่ อาจารย์บอกไม่ใช่ก็ไม่ใช่ ไม่สังเกตอันนี้ไม่ดีนะ ไม่ดี ๆ เพราะว่าเราจะไม่มั่นใจในตัวเอง สภาวธรรมที่เกิด ขึ้นเป็นปัจจัตตัง เป็นผลที่เกิดขึ้นเป็นผู้ปฏิบัติจะพึงเห็นได้ด้วยตัวเอง ครูบาอาจารย์เป็นผู้ชี้ทาง ชี้ทางให้ สังเกตไม่ได้ทาแทน ชี้ทางให้เรากระทา พิจารณาให้ดีว่าสิ่งที่ทา ผลที่ตามมาเป็นอย่างไร โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งเราต้องบอกตัวเองได้ว่า ดีหรือไม่ดีอย่างไร ดีอย่างไร ไม่ใช่ถูกใจนะ
ดไี มด่ ไี มไ่ ดเ้ กยี่ วกบั การถกู ใจหรอื ไมถ่ กู ใจ แตต่ วั ดคี อื สตดิ สี มาธดิ สี ภาพจติ ดี ตรงนแี้ หละดอี ยา่ งไร เปน็ กศุ ลเปน็ อกศุ ล เปน็ ความดตี รงไหน คอื เปน็ ความเปน็ กศุ ลทตี่ า่ งไป ความเปน็ กศุ ลทมี่ กี า ลงั มากขนึ้ ขณะ ที่สมาธิมีกาลังมากขึ้น ไม่ใช่ว่าโล่งเบาเสมอไป เหมือนที่เราเคยเห็น พอสมาธิมากขึ้นปุ๊บ พอเข้าไปในความ สงบ แล้วอยู่ในความสงบไม่อยากไปไหน เราก็เริ่มมีปัญญากัน พออยู่ในความสงบว่าง ๆ พอไปไหนไม่ได้ เริ่มชักไม่สบายใจ อยากหาทางเดินต่อ แสดงว่าเริ่มมีปัญญาแล้วนะ ปัญญาที่รู้ว่า เอ่อ!ติดแล้ว ติดแล้วจะ หาทางออกอย่างไร กับที่เราปฏิบัติเหมือนรู้สึกว่าอยากให้มันว่าง แล้วก็ไปอยู่ในความว่างนั้นตลอด อยาก อยู่อย่างนั้นตลอด แต่พอมีปัญญาขึ้นมา อยู่ในความว่างนาน ๆ ก็ไม่ดีแล้ว อยากหาอะไร หาทางเดินต่อไป จะได้ไม่ติดความว่าง เมื่อไหร่ที่รู้สึกว่าไม่อยากติดความว่าง ปัญญาเริ่มเกิดแล้ว พอปัญญาเริ่มเกิดก็จะรู้ว่า


































































































   229   230   231   232   233