Page 300 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม
P. 300

232
ใหร้ วู้ า่ ผลทเี่ กดิ จากการกา หนดรอู้ าการเกดิ ดบั เมอื่ กนี้ ี้ เจาะสภาวเมอื่ กนี้ ี้ พออาการเกดิ ดบั นนั้ หมดไป จติ โลง่ วา่ ง ใส ขณะนี้ ทนี ที้ า อยา่ งไร ดจู ติ ทโี่ ลง่ ทใี่ สนแี่ หละ ทบี่ อกวา่ สภาพจติ ตา่ งจากเดมิ อยา่ งไร มากนอ้ ย แค่ไหน ถ้าจิตรู้สึกโล่ง ใส ดูจิตที่ใส ที่โล่งเอง ไม่ต้องหาอาการเกิดดับ ให้นิ่ง แล้วไปดูจิตที่โล่ง ที่ใสนั้น ดูว่าความใสเพิ่มขึ้นไหม ความโล่ง ความเบาตรงนั้น มีความผ่องใสมากกว่าเดิม ละเอียดมากกว่าเดิม สะอาดมากกว่าเดิมไหม
หรืออีกอย่างหนึ่ง พอเรานิ่งแล้ว จิตที่ผ่องใสนั้นมีกาลังมากขึ้น มีความหนาแน่นขึ้น มีความชัดเจน มคี วามตงั้ มนั่ ขนึ้ อกี เหน็ การเปลยี่ นแปลงของจติ ตรงนี้ นคี่ อื การเจาะสภาวะเชน่ เดยี วกนั แตไ่ มไ่ ดม้ งุ่ ไปเจาะ หาอะไร หาอาการอื่น แต่การที่สารวจดูจิตตรงนี้ อย่างที่บอกแล้ว ถ้าเรานิ่งดูจิตที่ใส จิตที่ใสมีกาลังมากขึ้น พอมีกาลังมากขึ้น มีความตั้งมั่น มีความหนาแน่นขึ้น เดี๋ยวอาการเกิดดับอย่างใดอย่างหนึ่งก็จะปรากฏชัด ขึ้นมาเอง
กา หนดรใู้ นลกั ษณะอยา่ งนตี้ อ่ เนอื่ งไป อาการเกดิ ดบั ทปี่ รากฏขนึ้ อาจจะเปน็ อาการของความใสเอง หรือแม้จิตที่ไปรู้ความใสเองก็ได้ จิตที่ทาหน้าที่รู้ความใส รู้แล้วเขาดับไป ดับแล้วใสมากกว่าเดิม ดับแล้ว ใสขึ้น อันนี้ก็เป็นอาการเกิดดับ เป็นสภาวธรรมที่เกิดขึ้นมา หรืออาจจะเป็นอาการของเสียงที่ได้ยินก็ได้ พอ ว่างปุ๊บ ไปดูจิตที่ผ่องใส จิตที่ว่าง ที่ผ่องใส ใสมากกว่าเดิม แล้วนิ่งสักพักหนึ่ง แล้วมีเสียงดังเกิดขึ้น ได้ยิน เสยี งปรากฏเกดิ ขนึ้ มา เสยี งอะไรกต็ าม พอไปกา หนดรู้ แลว้ เสยี งนนั้ เกดิ ดบั อาการเกดิ ดบั ของเสยี งนนั้ ตา่ ง จากอาการเกิดดับ ก่อนที่จะเข้าสู่ความว่าง ความใสนี้อย่างไร
สมมติว่า อาการเกิดดับก่อนที่ว่าง เขาเกิดดับเป็นดวงเดียววุบหาย ๆ ๆ แล้วก็โล่งว่างใสไป แต่ หลังจากใสแล้ว พอไปฟังเสียง พอได้ยินเสียง อาการนั้น อาการเกิดดับของเสียง เป็นอาการเกิดขึ้นมา แล้ว ก็เลือนหายไป หรือไหว ๆ หรือเหมือนฝนตก มีอาการกระจาย มีอาการซ่าขึ้นมาแตกกระจายไป นี่ก็คือ ความเปลี่ยนแปลง นี่คือเป็นสภาวธรรมที่เกิดขึ้น ที่เราจะต้องใส่ใจต่อเนื่อง หรือบางครั้ง อย่างที่บอกแล้ว ว่า ถ้ากาหนดรู้อาการเกิดดับแล้ว จิตว่าง...เปลี่ยนเป็นว่างใส ไม่มีอาการเกิดดับอะไรเลย เหมือนกับอาการ เกิดดับไม่ได้ต่อเนื่อง เดี๋ยวแว็บตรงนั้นนิดหนึ่ง แว็บตรงนี้นิดหนึ่ง แว็บตรงนั้นหน่อยหนึ่ง การที่เราใส่ใจ อาการเกิดดับ ที่แว็บตรงนั้น แว็บตรงนี้ นั่นคือการตามรู้สภาวะอย่างต่อเนื่อง ไม่ใช่ว่าต้องเขาเกิดถี่ ๆ แล้ว จึงจะเรียกว่าเป็นการเจาะสภาวะ
เพราะฉะนั้น การเจาะสภาวะคือ การใส่ใจ กาหนดรู้อาการเกิดดับให้ต่อเนื่อง แต่ถ้าอาการเกิดดับ เป็นชุด อย่างที่บอกว่า อาการเกิดดับของเสียงเป็นขณะ ๆ ๆ ๆ ก็ต้องตามรู้จนอาการเกิดดับนั้นสิ้นสุดลง ทีนี้พออาการเกิดดับสิ้นสุดลง การปฏิบัติธรรมของเรา ไม่ได้หมายความว่าจิตเราจะตื่นตลอดเวลา เพราะ การเจาะสภาวะ การกาหนดรู้แบบนี้ บางครั้งทาให้จิตเราเกิดความล้า ความเหนื่อย ใช้พลังงาน เขาเรียกว่า ใช้พลังจิต ใช้กาลังของสติ สมาธิ พอกาหนดไปสักระยะหนึ่ง เจาะสภาวะมาก ๆ บางทีก็รู้สึกเพลีย รู้สึกล้า รู้สึกเหนื่อยเป็นเรื่องธรรมดา


































































































   298   299   300   301   302