Page 327 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม
P. 327
259
หมดไป นั่นคืออาการเกิดดับ ไม่ต้องไปหาอาการเกิดดับอย่างอื่น ตัวเขาเองเขาก็แสดงอาการเกิดดับ อยแู่ ลว้ แลว้ เรากจ็ ะรสู้ กึ วา่ ไมไ่ ดด้ อู าการเกดิ ดบั เลย มวั แตด่ อู าการอยา่ งอนื่ มนั เปลยี่ น ๆ ๆ นนั่ แสดงวา่ เรา เข้าใจว่าอาการเกิดดับต้องเป็น ปุ๊บ ปุ๊บ ปุ๊บ ปุ๊บ ปุ๊บ...อย่างเดียว แสดงว่าอาการหายไปของการอึดอัดนั้นไม่ ได้เรียกว่าอาการเกิดดับ นั่นคือความเข้าใจผิด อาการเกิดดับที่ต้องรู้เป็นอาการเกิดดับของทุก ๆ อารมณ์ เป็นอาการเกิดดับของความคิด เป็นอาการเกิดดับของเวทนา....
...เป็นอาการเกิดดับของอาการจิตตก ใช่ไหม ? ดับหรือยัง ? แหม! อุตส่าห์เน้นให้ดับ จิตตกเลย... ตอ้ งยนื ใหม้ นั่ สิ คอื มนั่ ใจในสภาวะ ถา้ ดกี ค็ อื ดี อาจารยจ์ ะเนน้ วา่ ดแี ลว้ นะ ถา้ เลา่ ไดช้ ดั อาจารยจ์ ะเนน้ มาก ๆ เลย ถ้าโยคีสภาวะดีอาจารย์จะดุ ถ้าไม่ดีจะไม่ดุ... ไม่เหมือนคนอื่นนะ ถ้าสภาวะไม่ดีนี่เขาจะดุมาก ๆ เลย เพื่อที่โยคีจะได้ตื่นตัว แต่อาจารย์ไม่ใช่! ถ้าไม่ดีจะค่อย ๆ ประคอง ค่อย ๆ ปั้น ขึ้นรูปใหม่ ถ้าดีแล้วต้อง ทุบแรง ๆ เลย ถ้าดีแล้วยังขึ้นรูปไม่ได้ก็ต้องทุบ! เคยเห็นไหม ช่างปั้นหม้อนี่ ถ้าดินมันเหลว เขาก็จะเบา ๆ แล้วก็หมุนไป มันก็จะค่อย ๆ ขึ้นรูปขึ้นมา แต่ถ้าดินมันเหนียวมากกว่านั้น ก็ต้องทุบ ๆ ๆ ๆ ๆ เพื่อให้มัน เข้ารูป
นี่ก็เหมือนกัน โยคีหลายคนสภาวะดี เมื่อเช้าก็จิตตกไปรอบหนึ่ง อาจารย์ว่า แหม! ไม่น่าจิตตก เลย เขารีบ ๆ ออกไป อุตสาห์บอกว่าสภาวะดีนะ ก็เล่าซ้า เล่าซ้า... พออาจารย์บอกปุ๊บเขาก็จิตตก ที่เล่าซ้า เพราะอยากจะอธิบายให้อาจารย์เข้าใจให้ชัด กลัวอาจารย์ฟังไม่เข้าใจ แต่นั่นดีไหม ? ดี อาจารย์ก็พยายาม ตั้งใจฟังให้เข้าใจ อาจารย์มีอย่างหนึ่ง ตั้งแต่ปฏิบัติกับท่านแม่ครู เวลาท่านแม่ครูพูดอะไร พยายามที่จะ เขา้ ใจทที่ า่ นพดู ใหม้ ากทสี่ ดุ เทา่ ทจี่ ะเปน็ ไปได้ เลยตดิ นสิ ยั ขนึ้ มาวา่ เวลาโยคเี ลา่ สภาวะจะตงั้ ใจฟงั มาก ๆ เลย เพราะอยากเข้าใจโยคี อยากจะรู้ว่าโยคีพูดถึงอะไร สภาวะตรงนี้อยู่ตรงไหน เพราะฉะนั้นตั้งใจฟังมากเลย แต่บางทีก็ทาให้โยคีได้ใจ บางทีไม่สังเกตเลยว่าอาจารย์เข้าใจหรือไม่เข้าใจ เพราะฉะนั้น เราต้องช่วย ๆ กัน
ถ้าอาจารย์บอกว่า เออ! เข้าใจแล้ว เราก็เล่าต่อไป ไม่ต้องเล่าซ้าจุดนั้นก็ได้ ให้เล่าตรงที่ยังไม่ได้เล่า และที่คิดว่าอาจารย์น่าจะได้ฟัง ตรงนี้แหละสภาวะจะเดินหน้าดีขึ้นเยอะ อาจารย์จะจาอย่างหนึ่งว่า เวลา ท่านแม่ครูแก้สภาวะให้ สภาวะที่เราเห็นอยู่ว่าดีแล้ว แต่ถ้าท่านบอกว่าให้ทาอย่างนี้แล้วสภาวะใหม่ขึ้นมา สภาพจิตเราเปลี่ยนไปจากเดิม นั่นคือท่านสอนให้เดินหน้าแล้ว เพราะฉะนั้น ของเก่าวางไว้เลย เอาอันใหม่ กลับไป ทาตรงที่ปัจจุบันต่อไป สังเกตไหมว่า บางครั้งโยคีเล่าสภาวะเสร็จ แล้วอาจารย์ให้ลองดูนะทา แบบนี้ ไล่สภาวะดู พอทาได้แล้ว แทนที่จะ อ๋อ! ต้องทาอย่างนี้ต่อ กลับหยุดไว้ก่อน แล้วก็เล่าต่อ...
พอเล่าต่อปุ๊บ เล่าของที่ย้อนกลับ แล้วกว่าจะมาถึงสภาวะตรงนี้ สภาพจิตตรงนี้... เป็นยังไง ? ถ้า อาจารย์บอกต้องจาเป็นจุดเลย ถ้าอาจารย์บอกสภาพจิตตรงนี้ให้ดูแบบนี้ บอกให้ดูแบบนี้ปุ๊บ “จา”เลย นี่ คือการบ้านเราแล้ว สังเกตไหมว่า พอเล่าจนจบแล้ว...อาจารย์ก็ย้อนกลับมาให้ทาเหมือนที่อยู่ในกระดาน นั่นแหละ วันนี้ได้ขึ้นกระดานหลายรอบ น่าจะ ๕-๖ คน เพราะอาจาย์ดูจากทิชชู่เช็ดมือตั้ง ๕-๖ ก้อน พอ ขึ้นกระดานเสร็จ เช็ดกระดานเสร็จ ก็ม้วน ๆ เช็ดมือแล้วก็วาง ที่อาจารย์ขึ้นกระดานอาจารย์อยากให้โยคี เข้าใจ จะได้รู้ว่าต้องทายังไงต่อไปให้ชัด เพราะฉะนนั้ ต้องจาให้ดีนะ สภาวะจะได้เดินหน้าไปเรื่อย ๆ