Page 333 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม
P. 333
265
นี่เป็นสภาวธรรมเป็นสัจธรรมข้อหนึ่งที่เกิดขึ้นว่า ทั้งเวทนาและจิตก็ทาหน้าที่อยู่อย่างนั้น มีเวทนา เกิดขึ้นมาเมื่อไหร่จิตก็ทาหน้าที่รับรู้อยู่เสมอ มีอารมณ์อะไรปรากฏขึ้นมาจิตก็ทาหน้าที่รับรู้อยู่เสมอ แต่ถ้า ไม่มีเจตนาที่จะเข้าไปพิจารณาว่า เวทนากับจิตเขาเป็นส่วนเดียวกันหรือเป็นคนละส่วนกัน ก็ทาให้เราไม่ เหน็ ความเปน็ จรงิ กเ็ ขา้ ใจผดิ หรอื สา คญั ผดิ คดิ วา่ เวทนานนั้ เปน็ ของเรา หรอื เราเปน็ เจา้ ของเวทนานนั้ นนั่ เอง เมื่อเห็นชัดว่าเวทนากับจิตเป็นคนละส่วนกัน รู้ว่าอยู่ตาแหน่งไหนของร่างกายแล้ว สังเกตว่า “เวทนานั้นมี ลักษณะอย่างไร” และ “เกิดดับอย่างไร”
เวทนาที่เกิดขึ้นเป็นจุด เป็นแผ่น เป็นกลุ่ม เป็นก้อน เป็นแท่ง... อันนี้คือเวทนามีลักษณะอย่างไร และเวทนานั้นเกิดดับอย่างไร นั่นหมายถึงว่าเวทนาที่เป็นกลุ่มก้อนนั้น เวลามีสติเข้าไปกาหนดรู้ กลุ่มก้อน ของเวทนานนั้ เปลยี่ นไปอยา่ งไร - คอ่ ย ๆ สลาย, คอ่ ย ๆ กระจาย, คอ่ ย ๆ จาง, คอ่ ย ๆ บาง, คอ่ ย ๆ หายไป... หรอื เมอื่ มสี ตเิ ขา้ ไปกา หนดรู้ กลมุ่ กอ้ นของเวทนานนั้ แตกกระจายไป หรอื เขา้ ไปรแู้ ลว้ เวทนานนั้ คา้ งอยนู่ งิ่ ๆ, เข้าไปแต่ละขณะกว่าที่จะสลายกว่าที่จะดับไปก็ใช้เวลานาน, หรือยิ่งมีสติเข้าไปกาหนดรู้ เวทนานั้นมีอาการ รุนแรงขึ้น ชัดขึ้น ๆ เป็นขณะ ๆ เพิ่มขึ้น ๆ แก่กล้าขึ้น
ตรงลักษณะความเปลี่ยนแปลงของเวทนาตรงนี้นี่แหละเป็นตัวบอกถึงลักษณะของสภาพจิตใจ ของเรา หรอื สติ สมาธิ ปญั ญามกี า ลงั มากแคไ่ หน หรอื เปน็ ตวั บอกถงึ อนิ ทรยี ห์ า้ พละหา้ ของเราวา่ มกี า ลงั มาก แค่ไหน และลักษณะอาการเกิดดับของเวทนาเป็นตัวบ่งบอกถึงลักษณะของสภาวญาณ คาว่า “สภาวญาณ” ก็คือปัญญาของเรา ปัญญาเห็นอาการเกิดดับของเวทนาในลักษณะอย่างไร เกิดดับแบบกระจาย เกิดดับ แบบสลายไป เกิดดับค่อย ๆ จาง ค่อย ๆ บาง ค่อย ๆ เบา หรือยิ่งรู้ยิ่งแรงชัดขึ้น ๆ ถึงแม้รู้แบบไม่มีตัวตน เวทนาก็ชัด รุนแรงขึ้นได้ แก่กล้าขึ้นได้เช่นกัน
เพราะฉะนนั้ เวลาตามกา หนดรอู้ าการของเวทนาจงึ ใหส้ งั เกตการเปลยี่ นแปลงในลกั ษณะอยา่ งนี้ ไม่ ได้ให้เข้าไปแล้วเวทนาต้องดับไป ต้องรู้ให้ดับ ต้องเอาชนะเวทนาให้ได้ ถ้าตั้งจิตเพื่อที่จะเอาชนะเวทนาด้วย ความรู้สึกที่มีตัวตนหรือมีเรา อะไรเกิดขึ้นมา ? การที่จะเอาชนะเวทนาในลักษณะอย่างนั้น เหมือนมีตัวตน เป็นตัวโมหะ ความเข้าใจผิด แทนที่จะไปรู้ถึงกฎของไตรลักษณ์ของเวทนา กลับพยายามเข้าไปบังคับไปข่ม ข่มใจตัวเอง ถามว่า ดีไหม ? ถ้าใครเอาชนะเวทนาในลักษณะนั้นได้ ข่มได้อดทนได้ ก็ถือว่าเป็นตบะเป็น ข นั ต อิ ย า่ ง ห น งึ ่ ด อี ย า่ ง ห น งึ ่ แ ต ใ่ น ห ล กั ก า ร ข อ ง ก า ร เ จ ร ญิ ว ปิ สั ส น า ก ร ร ม ฐ า น น นั ้ เ ว ท น า น ปุ สั ส น า - เ ร า ม ง่ ุ เ น น้ ไปตามรู้อาการเกิดดับของเวทนา เพราะอะไร ?
การรู้อาการเกิดดับของเวทนาแบบนี้ เราจะเห็นอยู่สองอย่างหนึ่ง “เวทนาทางกาย” ที่มีการ เปลี่ยนแปลง ไม่ว่าเวทนาทางกายจะมีความแก่กล้ามากขึ้นหรือเบาบางจางลงก็ตาม นอกจากการเห็นแบบ นั้นแล้ว อีกอย่างหนึ่งก็คือ “เวทนาทางจิต” สมมติว่า เวทนาทางกายมีความแก่กล้า แต่เมื่อเห็นชัดว่าเวทนา ทางกายที่แก่กล้าเขาเกิดอยู่ในที่ว่าง ๆ และเป็นคนละส่วนกับจิต จิตมีกาลังมากกว่า กว้างกว่า ใหญ่กว่า จะ เหน็ วา่ เวทนาทางกายนนั้ ไมบ่ บี คนั้ จติ ใจ และนอกจากไมบ่ บี คนั้ จติ ใจแลว้ ยงิ่ กา หนดรชู้ ดั ถงึ การเปลยี่ นแปลง การเกิดดับของเวทนาแล้ว จิตที่กว้างจิตที่มีกาลังผ่องใสขึ้น