Page 347 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม
P. 347

279
แต่ในขณะเดียวกัน ถ้าเรานิ่ง ๆ อย่างเดียว ไม่มีการเปลี่ยนแปลงก็จะเป็นอารมณ์ฌาน แต่อารมณ์ ฌานตรงนี้นี่แหละ พอยิ่งว่าง พอนิ่งปึ๊บ สังเกตอาการเกิดดับ อาการของอารมณ์ต่าง ๆ ที่ปรากฏในความ ว่างนั้น เกิดดับอย่างไร ถ้าสังเกตว่าอาการที่เกิดขึ้นในอารมณ์ ในความว่างนั้นเกิดดับอย่างไร การมีเจตนา แบบนี้ กลายเป็นการยกจิตขึ้นสู่วิปัสสนา เห็นไหม...นิดเดียวเอง มีเจตนาที่จะรู้อาการเกิดดับของอารมณ์ ที่ปรากฏอยู่ในความว่างนั่นเอง เขาเกิดดับอย่างไร นี่...นิ่งนิดเดียว มีเจตนาแล้วจะรู้ว่าอาการที่เกิดขึ้นมา นั้น เกิดดับอย่างไร
อาการอะไรที่ปรากฏขึ้นมาในความว่างนะ ไม่ใช่อาการอะไรที่พิสดารหรอก เสียง ความคิด ความ เย็น ความร้อน อาการเคร่งตึง หรือ มีอะไรอีก เย็น ร้อน อ่อน แข็ง เคร่งตึง หนัก เบา รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ธรรมารมณ์ แม้แต่ความคิด เสียง ความเย็น ความร้อน เคร่งตึงขึ้นมา แม้แต่ลม อย่างเช่น ว่างหมด เลยแล้วมีอาการพลิ้ว ๆ พลิ้วหาย ๆ เย็นวาบหาย วาบหาย ละเอียดอ่อนบาง ๆ นั่นแหละคืออารมณ์ คือ อาการเกิดดับที่ปรากฏขึ้นมา เริ่มจากตรงนั้น รู้ไปเรื่อย ๆ ดับอย่างไร ๆ มีเจตนาที่จะกาหนดรู้ตรงนี้ เรื่อย ๆ จากที่เขาว่างเป็นอากาศ ลองดูสภาพจิตเขาก็จะเปลี่ยน กาลังก็จะเปลี่ยนไปอีก
เพราะฉะนั้นนี่ สนใจการเปลี่ยนแปลงเมื่อไหร่ นั่นคือการสนใจอาการพระไตรลักษณ์ เป็นการ ยกจิตขึ้นสู่วิปัสสนา เพราะฉะนั้นต้องนิ่งเป็นระยะ เหมือนตามอาการ ทีนี้เวลาเราตามกาหนดอาการของ ลมหายใจ อาการเกิดดับของลมหายใจ อาการพองยุบ หรืออาการเกิดดับที่วับ ๆ ๆ พอตาม ๆ แล้วเหนื่อย ตามรู้อาการเกิดดับ พอตามไปสักพักแล้วรู้สึกเหนื่อย...ก็หยุด หยุดแล้วก็นิ่งนิดหนึ่ง แต่สังเกตนิดหนึ่งนะ ไม่ใช่บังคับให้นิ่ง ถ้าบังคับให้นิ่ง พยายามมากไปจะเหนื่อย เพราะบังคับเมื่อไรก็ต้องใช้กาลัง แต่กลับมา หยุดนิ่ง นิ่ง...ตั้งใจที่จะรู้นิดหนึ่ง นิ่งนิดหนึ่ง ถ้าเมื่อไรที่รู้สึกว่าตามไปพิจารณากาหนดสภาวธรรม รู้อาการ พระไตรลักษณ์ไป แล้วรู้สึกเหนื่อยปึ๊บ ให้ถอยกลับมาหยุดนิ่งนิดหนึ่ง นิ่งนิดหนึ่ง คาว่านิดหนึ่ง คือ นิดหนงึ่นะไมใ่ชพ่ยายามบงัคบัใหน้งิ่จนแบบอดึใจนดิหนงึ่ๆๆแลว้พอเขาเริ่มมกีาลงัมากขนึ้คอ่ยนิ่งยาว ขึ้น ๆ นิ่งสั้น ๆ แล้วค่อยนิ่งยาวขึ้น ๆ นิ่งนานขึ้น พอนานขึ้นแสดงว่ามีกาลังขึ้น สามารถนิ่งนานขึ้นด้วย นิ่งนานขึ้นได้ พอนิ่งอยู่นานขึ้นพลังก็จะตั้งมั่นมากขึ้น
แต่ใหม่ ๆ ต้องเริ่มสังเกตแค่นิดหนึ่ง ๆ ๆ แต่...ไม่ต้องบังคับ ถ้าบังคับเมื่อไหร่จะเหนื่อยอีก ลอง สังเกตดู จริง ๆ แล้ว สภาวะเหล่านี้นี่ โห! อาจารย์พูดละเอียดเลยนะ รู้จักถาม สมัยก่อนเราไม่ค่อยถามกัน แบบนหี้ รอก พอบอกใหน้ งิ่ กน็ งิ่ แบบตะพดึ ตะพอื ผดิ ถกู ไมร่ ู้ รแู้ ตว่ า่ พอนงิ่ แลว้ มนั มนั่ คงขนึ้ มพี ลงั ขนึ้ เออ่ ! ถกู แลว้ ทา ตอ่ กเ็ อาไปทา ไปปฏบิ ตั ติ อ่ ไมต่ อ้ งใหเ้ หตผุ ลอะไรมาก แตพ่ อขยายความแบบนมี้ ากขนึ้ โยคกี จ็ ะ เอะ๊ ! นงิ่ แลว้ ทา ไมไมเ่ ปน็ เหมอื นทอี่ าจารยบ์ อก นงิ่ แลว้ มนั ไมไ่ ดม้ นั่ คงเหมอื นทอี่ าจารยว์ า่ มนั นดิ เดยี วเอง มนั นงิ่ นดิ หนงึ่ พลงั ขนึ้ นดิ หนงึ่ นดิ เดยี ว ไมเ่ หน็ เหมอื นทอี่ าจารยบ์ อก อาจารยบ์ อกนงิ่ แลว้ มนั เตม็ วบื ทเี ดยี วเลย กร็ สู้ กึ วา่ เหมอื นตวั เองทา ไมไ่ ด้ กลายเปน็ วา่ เอะ๊ ! เราทา ไมไ่ ดห้ รอื เปลา่ เราทา ไมถ่ กู หรอื เปลา่ คดิ มากไปอกี
แต่จริง ๆ แล้วก็คือว่า เรานิ่งนิดหนึ่ง ก็เพิ่มนิดหนึ่งนั่นถูกแล้ว เพิ่มทีละนิด ๆ ๆ นั่นถูกแล้ว เพียง แต่ต้องทาซ้า เปรียบเหมือนน้าที่หยดลงโอ่ง หรือลงตุ่ม เหมือนเมื่อกี้นี้ เราก็ต้องทาซ้า ๆ ๆ เหมือนที่เราทา


































































































   345   346   347   348   349