Page 394 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม
P. 394
326
ก็ยังดีอยู่ เพราะฉะนั้น ถ้าเราดูจิตที่ทาหน้าที่รู้แต่ละอารมณ์ที่เกิดขึ้น แต่ละอารมณ์ที่เกิดขึ้น... แล้วให้จิต กว้างกว่าอารมณ์นั้นๆเขาจะแยกกันเองโดยอัตโนมัติแล้วช่องว่างระหว่างอารมณ—์ช่องว่างระหว่างจิต กับอารมณ์ที่เกิดขึ้น—ยิ่งกว้างเท่าไหร่ จิตก็จะยิ่งอิสระมากขึ้นเท่านั้น จิตจะยิ่งสบายมากขึ้น
ทาอย่างไรจิตถึงจะว่าง ? สังเกตนิดหนึ่งว่า จิตยิ่งเล็กจิตยิ่งแคบกลับรู้สึกว่าไม่ค่อยว่าง สังเกต ไหมว่า เราพยายามให้จิตอยู่ที่ตัวอย่างเดียว อารมณ์ก็วิ่งเข้ามา วิ่งเข้ามา... ใกล้เข้ามาเรื่อย ๆ กลายเป็น ว่าอารมณ์เหล่านั้นอยู่ใกล้ตัวมากที่สุด เวลากระทบขึ้นมาเขาก็พุ่งเข้ามาหาตัวเลย เห็นปุ๊บก็แว็บเข้ามาถึง ใจเรา แต่สังเกต พอทาจิตกว้าง ๆ รู้สึกอารมณ์เขาวิ่งเข้าหาตัวไหม ? ไม่เข้ามาแล้ว เพราะใจเรากว้าง ขอบ เขตบ้านเรากว้าง เขาก็เข้ามาถึงแค่รั้วบ้านแล้วเขาก็จบไป เข้าไม่ถึงข้างในบ้าน ลองดูสิ ไม่เชื่อลองดูตอนนี้ เลย ทาจิตให้กว้าง ๆ แล้วลองสังเกตดูว่า เสียงนี่เขาดังอยู่ที่หู หรือว่าอยู่ในที่ว่าง ๆ ? การทาแบบนี้ทาให้ ใจเรารู้สึกสบายไหม ? สบายหูไหม ? ไม่แสบแก้วหู เราก็จะรู้สึกว่ามันเบา ๆ
ทีนี้ ลองสังเกตนิดหนึ่งว่า ถ้าอารมณ์เหล่านั้นที่เกิดขึ้นมา เขาเกิดอยู่ในที่ว่าง ๆ แล้วเขาดับอยู่ ตรงนั้น เห็นเกิดตรงไหนดับตรงนั้น จิตใจรู้สึกเป็นอย่างไร ? เสียงที่ได้ยิน เกิดอยู่ในที่ว่าง แล้วดับอยู่ใน ที่ว่าง กิเลสเราจะเกิดไหม ? เคยได้ยินคาว่า “เกิดที่ไหน ดับที่นั่น” ไหม ? เราสามารถกาหนดได้ไหมให้เขา เกิดอยู่ในที่ว่าง ๆ ดับในที่ว่าง ๆ ? แต่ส่วนใหญ่คือเกิดที่ไหนจะมาดับที่นี่เสมอ เกิดที่ไหนก็ตามเข้ามาที่ใจ ตลอด ไม่ยอมดับด้วย แต่พระพุทธเจ้าบอกว่า “เกิดที่ไหน ดับที่นั่น” อารมณ์เกิดที่ไหนดับที่นั่น ทาอย่างไร เขาถึงจะดับที่นั่น ? ถ้าเราให้อารมณ์มันพุ่งเข้ามาหาเรา เขาก็จะมาดับที่นี่ แต่ถ้าจิตเรากว้างขึ้น ไปรู้อารมณ์ เหล่านั้น เขาเกิดตรงนั้น-ดับตรงนั้น แล้วรู้สึกเป็นไง ? สติดีไหม ? สบายไหม ?
ต่อไปอะไรที่เกิดที่บ้าน ให้ดับที่บ้าน อย่าเอามาที่นี่... อะไรเกิดที่นี่ก็เอาไปบ้านด้วย! “อะไรเกิดที่นี่” หมายถึงว่า ความรู้สึกดี ๆ บุญที่เกิดขึ้นกับใจเราที่นี่ เอาไปที่บ้านด้วย เวลามาทาความดี เกิดที่นี่มันดับที่นี่ กลบั บา้ นไมเ่ อาไปดว้ ย พอถงึ เวลาจะกลบั บา้ นกน็ กึ ฉนั กลบั ไปบา้ นจะเปน็ ยงั ไงหนอ เดยี๋ วไปเจอเรอื่ งเกา่ อกี จะทาใจยังไงดีหนอ ตอนที่มาอยู่นี่ทาใจได้ดี สติก็ดี สมาธิก็ดี ทาใจให้ว่างได้ เติมความสุขได้... พอจะกลับ บ้าน อู๊ว จะไปยังไงดีเนี่ย กลับถึงบ้านไปเจอหน้าแบบนั้นอีก จะทาใจยังไง? ตอนอยู่ที่นี่ทาอย่างไร กลับไป ก็ทาอย่างนั้น นั่นคือการเจริญสติของเรา อยู่ที่นี่ทาจิตให้ว่าง ก็เอาจิตที่ว่างไปที่บ้านด้วย อย่าเอาจิตที่ว่าง วางไว้ที่นี่ แล้วเอาจิตที่ไม่ดีกลับบ้าน ไม่เอา ไม่ดี!
กอ่ นทจี่ ะมานี่ วางทไี่ มด่ ไี วท้ บี่ า้ น เพอื่ ทจี่ ะทา ใจใหด้ เี ขา้ มาปฏบิ ตั ิ พอกลบั ไปไอท้ ไี่ มด่ ที วี่ างไวท้ บี่ า้ น ก็แกล้งลืมบ้าง ไม่ใช่กลับไปแล้วหาให้เจออีกล่ะ! เก่งเรื่องวางแล้วไม่ลืม แต่พอปฏิบัติธรรมแล้ว ทาไมอยู่ ต่อหน้าอาจารย์ทาได้ พออาจารย์ลุกเท่านั้นแหละ ลืมหมดแล้ว! ทาไมเราลืมง่าย!? ตัวนี้คือ เจตนาที่จะทา เจตนาที่จะรู้ ที่บอกว่ารู้มรรค คือรู้วิธีทา รู้วิธีปฏิบัติ รู้วิธีทาอย่างไรให้จิตเราว่าง รู้วิธีทาอย่างไรถึงจะเข้าไปรู้ อาการเกดิ ดบั รวู้ ธิ ที า อยา่ งไรถงึ จะดบั ความเปน็ ตวั ตนได.้ .. เอาความรสู้ กึ วา่ เปน็ เราออกไดไ้ หม ? ยงั เลยนะ อาจารย์ยังไม่ได้สอนเลยว่าเอาความรู้สึกว่าเป็นเราออกยังไง แต่บางคนทาได้นะ