Page 476 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม
P. 476
408
ทีนี้สารวจดู เมื่อให้(ความนิ่มนวล)เต็มแล้ว ก็ให้ขยายให้กว้าง ให้หนาแน่นขึ้น เต็มทั้งตัวเหมือน เดมิ เมอื่ กจี้ ติ ทวี่ า่ งจติ ทเี่ บาแผไ่ ปทงั้ ตวั แผไ่ ปทกุ สว่ นของรา่ งกาย ไมว่ า่ จะเปน็ ทหี่ นา้ ทสี่ มอง ทบี่ รเิ วณหวั ใจ ที่แขน ที่ขา ความว่างแผ่ไปได้ ความนิ่มนวลก็เช่นเดียวกัน แผ่ไปทั่ว ๆ ทุกส่วนของร่างกายของเรา แล้ว ลองดูว่า พอเติมพลังอันนี้เข้าไป ทาให้จิตเรารู้สึกตั้งมั่น มีพลังมากขึ้นไหม ตื่นตัวขึ้นไหม ? ลองสังเกต ดูนะว่า พอเติมความนิ่มนวลเข้าไปแล้วขยายให้กว้างกว่าตัว ให้กว้างเต็มห้องนี้ จนเรารู้สึกว่าเรานั่งอยู่ ท่ามกลางความสุข นั่งอยู่ท่ามกลางความเบา แล้วลองพิจารณาดูว่า ในบรรยากาศของความว่าง ความสุข หรือความเบาอันนั้น มีอาการอะไรปรากฏขึ้นมา ?
ตอนนี้เราจะยกจิตขึ้นสู่วิปัสสนา พิจารณาดูว่าขณะที่จิตว่าง เต็มไปด้วยความเบา ความนุ่มนวล หรือความอ่อนโยนแล้ว ลองดูว่า มีอาการอะไรปรากฏขึ้นมาในความนุ่มนวลอ่อนโยนหรือความเบานั้น ? มีอาการของเสียงเกิดขึ้น... เสียงแอร์ เสียงอาจารย์ หรือเสียงในความเงียบ อย่างใดอย่างหนึ่งเกิดขึ้น ลอง พิจารณาดูว่า อาการไหนชัดที่สุด ? สมมติว่า ถ้าได้ยินแค่เสียงแอร์ที่ดังอยู่ เวลายกจิตขึ้นสู่วิปัสสนาก็คือ มเี จตนากา หนดรวู้ า่ เสยี งนนั้ มกี ารเปลยี่ นแปลงเกดิ ดบั อยา่ งไร แตพ่ อเรานงิ่ ปบุ๊ กลบั มาสา รวจดใู นความวา่ ง ในความสุข หรือในความนุ่มนวลนั้น กลับรู้สึกถึงอาการเต้นของหัวใจบริเวณหทัยวัตถุหรือตรงกลางตัว ถ้าเป็นอย่างนั้นก็ตามกาหนดรู้อาการเต้นของหัวใจ ตรงนี้เป็นการยกจิตขึ้นสู่วิปัสสนา
พอตามรู้ในลักษณะอย่างนี้... คาว่า “ตามรู้” ในที่นี้ หมายถึงว่ารู้ให้ชัด ให้จิตหรือสติเข้าไปให้ถึง อาการนั้น ไม่ได้ตามรู้ห่าง ๆ แบบเรื่อย ๆ ขอย้าว่าอย่าตามรู้ห่าง ๆ แบบเรื่อย ๆ เพราะถ้าตามรู้ห่าง ๆ แบบเรื่อย ๆ ขณะที่จิตเราสงบแบบนี้ เดี๋ยวสติอ่อนลง สมาธิมากขึ้น เดี๋ยวหลับอีก! ทีนี้ การเข้าไปรู้ให้ชัด เหมอื นเราใหส้ ตหิ รอื จติ เขา้ ไปถงึ อาการ เขา้ ไปกระทบ เขา้ ไปถกู เขา้ ไปแตะทอี่ าการเกดิ ดบั ของเสยี งนนั้ หรอื อาการเต้นของหัวใจนั้น แล้วสังเกตดูว่า เมื่อจิตเราหรือสติของเราเข้าถึงอาการเกิดดับแล้ว...อาการเกิด ดับนั้นเปลี่ยนไปอย่างไร ? ขอให้สังเกตในลักษณะอย่างนี้ว่า อาการเกิดดับเกิดดับเด็ดขาดมากขึ้นไหม เกิดดับมีเศษไหม หรือดับแต่ละขณะ ใจรู้สึกเบาขึ้น โล่งขึ้น ?
แล้วลองดูว่า อาการเกิดดับของเสียงนั้นเร็วขึ้นหรือช้าลง ? ให้มุ่งขณะต่อไป ขณะต่อไป... เรื่อย ๆ การที่เราเพิ่มตัวมุ่งทาให้จิตเราตื่นตัวขึ้น ขณะที่มุ่งไปรู้ที่อาการเกิดดับที่กาลังปรากฏ ไม่ว่าจะเป็นอาการ เต้นของหัวใจหรือเสียงก็ตาม ไม่ต้องห่วงว่าถ้าเรามุ่งเร็ว ๆ มุ่งแรง ๆ แล้วอาการเต้นของหัวใจจะหายไป หรอืพอเรามงุ่ไปแลว้อาการเกิดดบัของเสยีงจะหายไป...ไมต่อ้งหว่งใหม้งุ่ไป!หาย-ใหร้้ชูดัวา่หายน้อยลง- ให้รู้ชัดว่าน้อยลง บางลง-ให้รู้ชัดว่าบางลง เร็วขึ้น-ให้รู้ชัดว่าเร็วขึ้น ช้าลง-ก็ให้รู้ชัดว่าช้าลง ยิ่งเข้าไปกาหนด แล้วกว่าจะเปลี่ยนเขาช้า ช้าก็รู้ชัดว่าช้า แต่ที่สาคัญคือให้สติเข้าให้ถึงอาการ กาหนดรู้อย่างต่อเนื่องไป
ขณะทกี่ า หนดไป พออาการเตน้ ของหวั ใจเบาไป หายไป วา่ งไป เสยี งกห็ ายไป เรากา หนดอะไรตอ่ ? ก็มาดูสภาพจิต พอเสียงนั้นหมดไป อาการเกิดดับนั้นหมดไป จิตใจรู้สึกเป็นอย่างไร... ตื่นตัวขึ้น มีพลัง มากขึ้น หรือมุ่งเข้าไปแล้วมีอาการวึบเข้ามา วึบเข้ามา... มีพลังพุ่งเข้ามาหาตัว นั่นจัดเป็นอาการอย่างหนึ่ง พอเรามุ่งเข้าไปในอาการแล้ว รู้สึกเหมือนมีพลังพุ่งเข้ามาที่บริเวณหทัยวัตถุ มันดับปุ๊บก็พุ่งเข้ามา วึบ วึบ