Page 550 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม
P. 550
482
แตถ่ า้ เหน็ วา่ จติ กบั เวทนาแยกจากกนั จติ ใจกบั ความปวดแยกจากกนั จติ กวา้ ง วา่ ง สงบ แลว้ กใ็ หญ่ กว่าเวทนา ในจิตตรงนั้นสงบ สามารถระลึกถึงเรื่องดี ๆ คิดถึงความเป็นกุศลได้ แต่ที่สาคัญที่สุดก็คือว่า ถ้าเราปฏิบัติ เราพิจารณาถึงความเป็นจริงแบบนี้นี่แหละ คือความเป็นมหากุศล เพราะอะไร มีปัญญา เห็นชัด มีปัญญาเห็นชัดถึงความเป็นคนละส่วน เป็นคนละขณะกัน ตรงนี้แหละ คือความเป็นมหากุศล เพราะเห็นแบบนี้ จาเป็นต้องทุกข์กับเวทนาทางกายไหม ให้เขาเกิดไป เราก็ทาหน้าที่ไป กาหนดรู้เอามาเป็น อารมณ์กรรมฐาน ตามหลักของวิปัสสนา
ไมว่ า่ จะเปน็ เวทนานนั้ เกดิ จากอะไร เหตปุ จั จยั อะไร ทที่ า ใหเ้ วทนาทางกายเกดิ ความปวด ความคนั เกดิ ขนึ้ มา ไมว่ า่ จะเปน็ เหตปุ จั จยั อะไรกต็ าม ถา้ เอามาเปน็ อารมณก์ รรมฐาน เพอื่ การพฒั นาสติ สมาธิ ปญั ญา ให้เกิดขึ้น ให้แก่กล้าขึ้น เพื่อคลายอุปาทานแล้ว ก็ให้มีเจตนาที่จะรู้ ถึงความเป็นคนละส่วน ระหว่างเวทนา ทางกาย กับจิตที่ทาหน้าที่รู้ แล้วก็รับรู้ด้วยความรู้สึกที่ไม่มีตัวตน พร้อมกับเอาเวทนานั้น มาเป็นอารมณ์ กรรมฐาน คือการศึกษาเรื่องกฎไตรลักษณ์
อย่างที่บอกแล้ว อย่างที่พูดแล้วว่า เวทนานั้นมีการเกิดดับในลักษณะอย่างไร มีความเปลี่ยนแปลง ไปอย่างไร อานิสงส์ของเวทนาที่เกิดขึ้นมานั้น ทาให้จิตเราตื่นตัว ถ้าจิตตื่นตัว ก็คือสติดีขึ้น สติจะดีขึ้น จิตจะตื่นตัว มีความตั้งมั่น ไม่ห่อเหี่ยว ไม่หดหู่ ไม่ง่วง ไม่ซึม นั่นคืออานิสงส์ของเวทนา ถ้าผู้ปฏิบัติใส่ใจ ใส่ใจให้ดี ใส่ใจได้แยบคาย เอามาเป็นอารมณ์กรรมฐานแบบนี้ พอปฏิบัติไป เห็นชัดว่าเวทนากับจิตเป็น คนละส่วนกัน ถ้าเห็นชัดเมื่อไหร่ จิตผ่องใสขึ้น
เราก็จะเห็นว่า เวทนาทางกายที่เกิดขึ้น ไม่ใช่อุปสรรคแก่การปฏิบัติเลย เวทนาที่เกิดขึ้นมา ก็เป็น ปัจจัยหนึ่ง ที่ทาให้เราเจริญในธรรม หรือสามารถนาเวทนานั้น มาเป็นอารมณ์กรรมฐานได้ การยกจิตขึ้นสู่ วิปัสสนาตรงนี้นี่แหละ เป็นการพิจารณาสัจธรรมจริง ๆ เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นจริง กับชีวิตคนเราทุกคน เพราะ ความปวด หรือเวทนาแบบนี้ ตั้งแต่เกิดจนถึงที่สุด ไม่มีใครที่ไม่เคยเจอกับเวทนาทางกาย การพิจารณา แบบนี้นี่แหละ การได้เห็นถึงการเกิด เขาเรียกทุกข์ของการเกิดในโลก
การมีรูป มีกาย เมื่อมีร่างกายเกิดขึ้น เวทนาทางกายก็ย่อมเกิดขึ้น เป็นเรื่องธรรมดา แล้วทาไม คน เราจึงแสวงหาการเกิดไม่มีที่สิ้นสุด แต่พระพุทธเจ้าสอนให้เราเข้าใจถึงความเป็นจริง เพื่อที่จะละ เพื่อจะ หลุดจากวงจรของปฏิจจสมุปบาท คือการเวียนว่ายตายเกิดในวัฏสงสาร ไม่มีจุดเริ่มต้น ไม่มีที่สิ้นสุด ไม่รู้ ว่าจุดสิ้นสุดของชีวิต ของการเวียนว่ายตายเกิดนั้นอยู่ที่ไหน แต่พระพุทธเจ้าสอนให้เราพิจารณา อาการ พระไตรลักษณ์
การพจิ ารณาอาการพระไตรลกั ษณ์การเกดิ ดบั ของรปู นามแบบนี้จะเปน็ แนวทางทจี่ ะหลดุ จากวงจร เพราะอะไร เมื่อมีผัสสะขึ้นมา จิตที่ทาหน้าที่ก็รู้ กาหนดรู้ ด้วยความรู้สึกที่ไม่มีตัวตน พร้อมกับเห็นว่าเป็น คนละสว่ นกนั และเหน็ วา่ อารมณท์ เี่ กดิ ขนึ้ กเ็ กดิ ดบั เกดิ ดบั ในเบอื้ งตน้ อยา่ งนี้ เรากย็ งั สามารถเหน็ ได้ วา่ จติ ไม่คล้อยตาม ไม่ไหลตามอารมณ์ที่เข้ามากระทบ ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ เมื่อไม่ไหลตาม ไม่คล้อยตาม ไม่ปรุงแต่ง ไม่สร้างกรรม ไม่ทากรรมใหม่ให้เกิดขึ้น จิตก็เริ่มอิสระขึ้น เริ่มคลาย เริ่มเบา เริ่มหยุด