Page 561 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม
P. 561

493
อย่างที่บอกแล้วว่า ถ้าสติ สมาธิมีกาลังตั้งมั่น และมีความชัดเจน เมื่อจิตกับเวทนาแยกจากกัน จิต มีความผ่องใส มีความเบิกบาน มีความสุข เมื่อเห็นว่าเวทนาทางกายนั้น ไม่สามารถบีบคั้นจิตใจได้ ตรงนี้ จะเห็นว่า เวทนาทางกายกับเวทนาทางจิตนั้น เป็นคนละแบบ เป็นคนละอย่างกัน เวทนาทางกาย บางครั้ง เหมือนกับให้ทาให้โดยปกติ ทาให้จิตเกิดเป็นทุกข์ขึ้นมา แต่ทาไมเมื่อสติ สมาธิ ปัญญาแก่กล้าขึ้น เวทนา ทางกายเกิดทาให้มีความผ่องใสขึ้น เพราะปัญญา
สติ สมาธิ และปัญญาแก่กล้า เห็นว่าเวทนา กับจิตที่ทาหน้าที่รู้เป็นคนละส่วนกัน จิตที่ทาหน้าที่รู้มี ความตงั้ มนั่ มคี วามผอ่ งใส จงึ เกดิ ความรสู้ กึ มคี วามปตี ิ มคี วามเบกิ บาน กลายเปน็ ความสขุ เปน็ โสมนสั ขนึ้ มา เพราะวา่ เวทนาทเี่ กดิ ขนึ้ มานนั้ ไมส่ ามารถบบี คนั้ จติ ใจได้ อนั นอี้ ยา่ งหนงึ่ วา่ เวทนาทางกาย กบั เวทนาทาง จิตที่ปรากฏเกิดขึ้น เป็นอารมณ์เป็นสภาวธรรมที่อาศัยกัน ในขณะเดียวกัน เมื่อมีเวทนาทางกายเกิดขึ้นมา แล้วสติไม่มีกาลัง สติ สมาธิอ่อนกาลัง เวทนานั้นก็จะบีบคั้นปรากฏเกิดขึ้นมา แล้วทาให้บีบคั้นจิตใจ ทาให้ ขุ่นมัว ทาให้เศร้าหมอง หรือเป็นทุกข์ ทาให้ขุ่นมัว ทาให้เป็นทุกข์ทนยากเกิดขึ้นมา
เ พ ร า ะ ฉ ะ น นั ้ ก า ร ท เี ่ ร า เ อ า เ ว ท น า ม า เ ป น็ อ า ร ม ณ ก์ ร ร ม ฐ า น ด ว้ ย ก า ร ย ก จ ติ ข นึ ้ ส ว่ ู ปิ สั ส น า เ พ อื ่ พ จิ า ร ณ า ว่า เวทนาที่เกิดขึ้นมานั้น มีการเปลี่ยนแปลงเกิดดับอย่างไร นั่นหมายถึงมีเจตนาที่จะรู้ถึงสัจธรรม ความ เป็นจริง ถึงกฎของสัจธรรม กฎไตรลักษณ์ คือความเป็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ของทุก ๆ อารมณ์ที่กาลัง ปรากฏอยู่ เพราะฉะนั้นผู้ปฏิบัตินะ โยคี...เมื่อมีเวทนาเกิดขึ้นมา ขอให้ตั้งสติ ตั้งจิตให้ดี แล้วพิจารณา เข้าไปกาหนดรู้ว่า เวทนาที่กาลังปรากฏเกิดขึ้นนี้ มีอาการเปลี่ยนแปลงหรือเกิดดับอย่างไร นี่นะมีอาการ เปลี่ยนแปลง หรือเกิดดับอย่างไร
นั่นคือหน้าที่หรือสิ่งที่ต้องกาหนดรู้ สิ่งที่ควรใส่ใจ คือกฎไตรลักษณ์ ของเวทนาที่กาลังปรากฏเกิด ขึ้น เมื่อตามรู้อย่างนี้ เขาเรียกว่าเวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน ตามรู้อาการของเวทนา ว่ามีการเปลี่ยนแปลง เกิดดับอย่างไร และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง การกาหนดรู้เวทนาที่ปรากฏเกิดขึ้น มีการเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป ถ้า เห็นว่าจิตกับเวทนาเป็นคนละส่วนกัน จิตที่ทาหน้าที่รู้ กับเวทนาเป็นคนละส่วนกันด้วยแล้ว ก็จะเป็นการดี อย่างยิ่ง ที่จะได้กาหนดรู้ด้วยว่า เมื่อเวทนาปรากฏเกิดขึ้นมาแล้วดับไป จิตที่ทาหน้าที่รู้ดับด้วยหรือไม่ ใน แต่ละขณะ ๆ ที่เวทนาผุดขึ้นมาดับไป ปรากฏขึ้นมาดับไป เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป อันนี้ควรพิจารณาควบคู่ กันไป
และในขณะที่กาหนดพิจารณา กาหนดรู้ในลักษณะอย่างนี้นะ สิ่งหนึ่งที่ต้องรู้ควบคู่กันก็คือว่า เมื่อ กาหนดรู้อาการเกิดดับของเวทนาไปเรื่อย ๆ จนเวทนาหยุดไป หรือจนสิ้นสุด จนหยุดกาหนด หรือออก จากกรรมฐานแล้ว สังเกตดูว่าสติเป็นอย่างไร สมาธิเป็นอย่างไร หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งคือ สภาพจิตใจ เป็นอย่างไรนะ จิตใจรู้สึกอย่างไร มีความสงบ มีความเบา มีความโล่ง มีความตื่นตัว มีความสว่าง มีความ ผ่องใส มีความตั้งมั่นขึ้นมา ลองดูว่าสภาพจิตใจรู้สึกอย่างไร เป็นอย่างไร ในขณะที่ตามกาหนดรู้ อาการ ของเวทนาจนดับไป อันนี้คือ เวทนาทางกายที่เกิดขึ้น
เวทนาทางจิต ถ้ากาหนดรู้เวทนาทางจิตที่เกิดขึ้นมา สิ่งที่ควรกาหนดรู้ กาหนดดับอารมณ์ ก็คือถ้า


































































































   559   560   561   562   563