Page 582 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม
P. 582
514
ปฏบิ ตั ดิ ว้ ยความวติ กกงั วลวา่ สภาวะนจี้ ะใชไ่ หม จะถกู ไหม กลายเปน็ วา่ ปฏบิ ตั ไิ ปกงั วลไป กท็ า ให้ จิตใจไม่สงบ เพราะฉะนั้น เราลองมาทบทวน ทบทวนกันนิดหนึ่งว่า ที่เราปฏิบัติ ธรรมะที่เราจะปฏิบัติ ที่ จะเป็นอารมณ์กรรมฐานของเรา ต่อจากนี้มีอะไรบ้าง หลายคนเรารู้อยู่แล้วว่า คาว่า สติปัฏฐาน ๔ นั้น เป็น อะไร เป็นอาการอะไรบ้าง สติปัฏฐาน ๔ ประกอบด้วย การกาหนดรู้อาการทางกาย ที่เรียกว่ากายานุปัสสนา สติปัฏฐาน
เป็นการกาหนดรู้อาการทางกายที่ปรากฏเกิดขึ้น ไม่ว่าจะอยู่ในอิริยาบถไหนก็ตาม อาการทางกายที่ เกิดขึ้นนั้น มีอาการประมาณไหน มีอะไรบ้างที่เกิดขึ้นทางกายของเรา ที่เป็นอารมณ์ที่ไม่ต้องอาศัยการปรุง แต่ง หรือสร้างขึ้นมา เป็นสภาวธรรม เป็นอาการทางกายที่เป็นไปโดยธรรมชาติ เป็นไปตามปกติ อย่างเช่น เวลาเราหายใจเขา้ ออก เขาเรยี กรสู้ กึ ถงึ ลมหายใจเขา้ ออก กเ็ ปน็ อาการทางกายอยา่ งหนงึ่ ใครทนี่ งั่ กรรมฐาน แล้ว เวลาหายใจเข้าออก รู้สึกถึงอาการหายใจ ถึงอาการของลมหายใจเข้าลมหายใจออก การตามรู้อาการ ของลมหายใจออก ก็คือตามรู้อาการทางกาย
ทีนี้ถ้ามีการตามรู้ อาการของลมหายใจเข้าออกแบบนี้ เขาเรียกว่า กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน ตามรู้ อาการทางกาย แต่บางคน โยคีบางคน เวลาหายใจเข้าออก ลมหายใจเข้าออกนี้จะไม่ชัด แต่เวลาหายใจเข้า ออกจะชดั ทที่ อ้ ง หายใจเขา้ ทอ้ งพองออก หายใจออกทอ้ งยบุ ลง หายใจเขา้ ทอ้ งพองออก หายใจออกทอ้ งยบุ ลง บางครั้ง รู้สึกถึงแค่อาการที่ท้องอย่างเดียว บางทีไม่ได้สนใจ หรือไม่ได้รู้สึกว่า ลมหายใจเข้าหรือหายใจ ออก แต่เน้นที่อาการพองหรือยุบเป็นสาคัญ รู้สึกถึงอาการพองออกแล้วก็ยุบลง เมื่อมีอาการแบบนี้เกิดขึ้น ขณะที่หายใจเข้าออก อาการพองยุบเกิดขึ้น ก็ให้ตามกาหนดรู้อาการพองยุบนั่นแหละ
ตามกาหนดรู้ คาว่าตามรู้ ตามกาหนดรู้ ต้องเข้าใจอีกจุดหนึ่งว่า การกาหนดรู้แบบนี้ที่เรียกว่า การ ตามดูกายในกาย หรือกายานุปัสสนาสติปัฏฐาน ตามรู้อาการทางกาย ทีนี้คาว่าตามกาหนดรู้อาการทางกาย ตามหลักของการปฏิบัติ เราจะเห็นว่า การกาหนดรู้อารมณ์ที่ดี การกาหนดรู้อารมณ์ที่ดีนั้น จะต้องกาหนด รู้อารมณ์ปัจจุบัน ที่กาลังปรากฏอยู่เฉพาะหน้าจริง ๆ ให้ชัดเจน
และการกาหนดได้ปัจจุบัน สติกับอาการควรจะอยู่ที่เดียวกัน ควรจะอยู่ที่เดียวกัน อย่างเช่น เวลา เราหายใจเขา้ ออก กใ็ หส้ ตอิ ยทู่ ลี่ มหายใจเขา้ ออก การตามรใู้ นทนี่ ี้ หมายถงึ วา่ สตติ ามกา หนดรแู้ ละเกาะตดิ ไปกับอาการ ของลมหายใจเข้า ลมหายใจออก อันนี้ถ้าใครกาหนดลมหายใจ ให้สติอยู่ที่เดียวกับอาการ อยู่ ที่เดียวกับอาการ ของลมหายใจเข้าลมหายใจออก ใครกาหนดอาการพองยุบ ก็ให้มีสติกาหนดรู้อยู่ที่เดียว กับอาการพอง อาการยุบ ที่กาลังปรากฏเกิดขึ้นอยู่
เพราะถ้าอยู่ที่เดียวกัน สติอยู่ที่เดียวกับอาการ จะทาให้อาการทางกายเหล่านั้น มีความชัดเจน หรือ จะทาให้ผู้ปฏิบัติจะเห็นชัด ถึงความเป็นไปของอาการทางกายที่เกิดขึ้น เห็นชัดถึงกฎไตรลักษณ์ ซึ่งเป็น สิ่งสาคัญ กฎไตรลักษณ์คือ ความเป็นอนิจจลักษณะ ทุกขลักษณะ อนัตตลักษณะของกาย ของอาการทาง กายทเี่ กดิ ขนึ้ อาการทางกายอยา่ งทบี่ อกแลว้ การทตี่ ามกา หนดรู้ อาการของลมหายใจเขา้ ออก แลว้ เกาะตดิ ไปกับอาการ ของลมหายใจเข้าออก