Page 79 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม
P. 79

11
นี่คือการทาจิตให้ว่าง ยกจิตขึ้นสู่ความว่าง ด้วยการแยกจิตเราออกมานอกตัว ให้กว้างกว่าตัว เมื่อกว้างแล้วถามต่ออีกนิดหนึ่งนะ พอจิตกว้างจิตเบา พอเราเห็นจิตที่เบาที่ว่างของตัวเองรู้สึกอย่างไร เห็นจิตตัวเองแบบนี้ รู้สึกดีไหม...สติดีนะ เพราะฉะนั้น จะได้ไม่ต้องไปกังวลว่าจิตอยู่ในตัวหรืออยู่นอกตัว แล้วเขาลืมตัวไหม...ไม่มี สติดีขึ้นนะ เห็นไหมนี่คือการสารวจ การที่สติเรากว้าง กลายเป็นว่าตัวเรา กาลังอยู่ข้างใน เขาเรียกว่าอะไร อยู่ในกรอบถูกสติคลุมทั้งหมดเลย เพราะฉะนั้นเวลาจะขยับจะพูดจะ กะพริบตา จะหันซ้ายหันขวา มันมีสติคอยกากับตลอด โดยที่เราไม่ต้องไปกังวล เดี๋ยวให้ทันตา เดี๋ยวให้ ทันเสียง อันนี้ถ้ากว้างแบบนี้ เขาจะรู้ได้เร็วขึ้นไหม ลองดูสิสติเราไวขึ้นแล้วนิ่งขึ้นหรือเปล่า มันไม่มีอาการ วอกแวก บรรยากาศตรงนี้จะมีความตั้งมั่น กลายเป็นกาลังของสมาธิไปในตัว
ที่ถามกันว่า ทาอย่างไรสมาธิจึงจะตั้งมั่น เป็นขณิกสมาธิ เป็นอุปจารสมาธิ หรืออัปปนาสมาธิ ตรงนี้แหละ ความว่างตรงนี้จิตเรา สังเกตจิตที่ว่างเขาสงบไหม นี่คือจุดที่ต้องสังเกต ถ้าเป็นอย่างนี้เราทา อะไรเรว็ แคไ่ หนกไ็ ด้ จติ เรากต็ งั้ มนั่ ได้ คอื มสี มาธทิ ตี่ งั้ มนั่ สงั เกตตอ่ อกี นดิ หนงึ่ นะจะไดเ้ หน็ อานสิ งสข์ องเขา ขณะที่จิตเราว่างเบากว้างแบบนี้ ลองดูว่าความคิดของเรา การคิดนั้นเขาสับสนหรือเป็นระเบียบ อันนั้น คือความเป็นระเบียบ ตรงนี้จะเกิดขึ้นต่อเมื่อคนเรามีสมาธิ เมื่อจิตของเรามีความสงบ มีความตั้งมั่นไม่ วนุ่ วาย ถา้ เรารสู้ กึ ฟงุ้ ซา่ นเมอื่ ไหรจ่ ติ เราจะไมเ่ ปน็ ระเบยี บเลย เดยี๋ วมนั นดิ หนงึ่ ๆ อนั นนั้ นดิ อนั นหี้ นอ่ ย แลว้ ก็ซัดส่ายไปเรื่อย เพราะฉะนั้นการทาจิตให้ว่าง การยกจิตขึ้นสู่ความว่างตรงนี้ ถามว่าเราเอาไปใช้ประโยชน์ อะไรได้บ้าง
ลักษณะนี้ลองใช้ทุกอย่างได้เลยนะ ลองใช้ทุก ๆ อย่าง เวลาทานอาหารก็ลองใส่เข้าไปในที่ว่าง ๆ เคยไหม ไม่เคยใส่เข้าไปในที่ว่าง ๆ ใส่เข้าไปในปากอย่างเดียว แล้วถ้าปากไม่ว่าง เสร็จเลย...ใส่ไม่ได้นะ นั่นแหละ เราก็ใส่เข้าไปในที่ว่าง ๆ ลองดูนะ เอาจิตที่ว่าง ๆ เอาความรู้สึกที่เบา โล่ง ว่าง ๆ มาไว้ตรงนี้ ใน ช่องปากช่องคอของเราบริเวณนี้ ลองดูว่ารู้สึกเป็นอย่างไร สบาย ๆ มันโล่ง ๆ กลวง ๆ เบา ๆ ว่าง ๆ ลอง กลนื นา้ ลายลงไปในทวี่ า่ ง ๆ ไดไ้ หม รสู้ กึ เปน็ อยา่ งไร คลอ่ งดี กลนื นา้ ลายไดค้ ลอ่ ง เหน็ ไหม ตอ่ ไปเวลาทาน อาหาร จะได้ไม่ลงท้อง จะลงไปในที่ว่าง ๆ ว่าง ๆ คงจะไม่อิ่มนะ จริง ๆ แล้วสังเกตไหมว่า พอเข้าไปในที่ ว่าง ๆ เรารู้รสแต่จะไม่ติดรส เห็นไหมรู้รสแต่ไม่ติดในรส แล้วก็เข้าไปในที่ว่าง ๆ ไม่มีเรา เป็นแค่รสชาติที่ ผ่านลงไปแล้วก็หายไป จะผ่านลงไปก็หายไป เพื่ออะไร กิเลสเกิดไหม ทานอย่างไม่มีกิเลส สนุกนะ สงสัย จะอร่อยขึ้นกว่าเดิมนะ
ทานอาหารแบบไม่มีกิเลสอร่อยขึ้นนะ รสชาติชัดเจนขึ้น เพราะไม่มีความอยากมาปิดบัง ถ้าเปรี้ยว ก็เปรี้ยวชัด หวานก็หวานชัด กลมกล่อมก็ชัด เพราะทาไมถึงรู้ว่ากลมกล่อม สัญญาเรามี ลิ้นเรายังดีมัน บอกได้ แต่ติดไม่ติดชอบไม่ชอบนั้นอีกเรื่องหนึ่ง แต่รู้ว่าดีและไม่ดีนะ รู้ว่าดีและไม่ดี ไม่ใช่ว่าติดหรือไม่ติด มันเป็นอย่างนั้น เพราะฉะนั้นเผ็ดก็รู้เปรี้ยวก็รู้ หวานก็รู้กลมกล่อมก็รู้ ติดหรือไม่ติดนั้นอีกเรื่องหนึ่ง ไม่ใช่ ไม่รู้รส ถ้าไม่รู้รส แสดงว่าลิ้นไม่ทางานแล้ว เกสรลิ้นเราไม่ทางานแล้วผิดปกติแล้ว แต่ถ้ารู้ด้วยก็รู้รส คาว่า ติดหรือไม่ติด หลงติดในรสชาติหรือเปล่า ไม่ใช่ว่าไม่รู้รสชาติ เห็นไหม ความหมายว่าไม่ได้ติดในรสชาติ แต่รู้รสชาตินั่นคือการพิจารณา


































































































   77   78   79   80   81