Page 874 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม
P. 874
806
และอีกอย่างหนึ่งธรรมะที่สอนเรา ก็คือความเป็นอนัตตา ที่บอกว่ายกจิตขึ้นสู่ความว่างก่อนเสมอ นี่นะ จริง ๆ แล้ว ถ้าเรารู้เจตนานะ อาจารย์ว่าอะไร ๆ ก็หยุดเร็วขึ้นเยอะ พอไม่มีตัวตนดับตัวตน ๆ และ พิจารณาตามธรรม ให้เป็นตามสภาวธรรม ไม่ใช่เป็นตามเรา มันก็จะเป็นสภาวธรรมที่เกิดขึ้น สติสมาธิ ปัญญารู้ทันสภาวะ เหตุปัจจัยที่เกิดขึ้นไม่เป็นไปตามเรา แต่สิ่งที่เราทานั่นแหละคือธรรม การกระทาของ เราเป็นกรรม หรือเป็นธรรมที่เกิดขึ้น ก็เป็นไปตามธรรมแบบนั้น ตามการกระทาอย่างหนึ่ง แต่การกระทา นั้นต้องพัฒนา ต้องใช้ปัญญาพิจารณา ทาให้ดียิ่งขึ้น ทาให้เหมาะสมกับเหตุปัจจัย ทาให้เหมาะสมเท่าที่จะ เป็นไปได้ จริง ๆ เท่าที่เป็นไปได้ก็ตามปัจจัยตรงนั้นแหละ แค่ทาใจ ก็ทาตามใจตามปัจจัย
เขาบอกเราให้ต้องทาใจ เราก็ไม่ยอมทาใจสักทีหนึ่ง แล้วเราก็ทาตามใจ ทาตามใจก็ไม่ได้ดั่งใจอีก ก็บอกให้ทาใจอย่าทาตามใจ เราก็จะได้แบบ อ๋อ! ทาใจปื๊บ หยุดแล้ว ก็ทาใจได้ทุกอย่างก็สงบ...เห็นไหม ไม่ได้แค่ทาตามใจเรา...ฝากเอาไว้
หมดเวลา...ทาท่าจะพูดไม่ได้ จริง ๆ ตอนแรกเข้ามานี่นะ จะพูดอะไร จะนั่งอย่างเดียวละมั้ง ที่บอก ว่าเดินมากับโยมอู๊ด ทาไมต้องถอนหายใจ ถึงถามตัวเองทาไมเราถอนหายใจ สงสัยเหนื่อยหรือเปล่า สงสัย ว่าเหนื่อย ได้ธรรมะช่วย พูดธรรมะแล้วรู้สึกค่อยยังชั่วขึ้น เราก็ใช้ธรรมะช่วย หมดแล้วนะ เข้าใจขึ้นนะ พรุ่งนี้อาจารย์หวังว่า...สงสัยต้องตั้งความหวังบ้างแหละ หวังว่าโยคีจะเล่าสภาวะได้ดีขึ้น ปฏิบัติได้ดีขึ้น เล่าสภาวะได้ดีขึ้น สภาวธรรมก้าวหน้าขึ้น หวังว่า ขอนะ! ...ให้อาจารย์สมหวัง ขอไม่เยอะหรอก ถ้าไม่ทาให้ อาจารย์ผิดหวัง โยคีจะไม่ผิดหวัง เพราะผลกรรม ยิ่งพูดยิ่งหนักนะ
จริง ๆ นะ สมัยก่อนบอกว่าหมดแล้ว...มีแต่ มีนิดหนึ่ง อยู่กับท่านแม่ครู เรื่องสภาวธรรม ไม่ว่า จะเรื่องสภาวธรรม...เรื่องอื่น ไม่มีขัอสงสัยก็มีแต่รู้สึกดี ๆ สงสัยน้อยมากเลย สงสัยว่าทาไมเป็นอย่างนั้น ทาไมเป็นอย่างนี้...น้อยมาก รู้แต่ว่าท่านให้ทาอย่างไรก็เป็นอย่างนั้น รู้สึกดีจังเลย ยิ่งให้ทาเท่าไหร่ยิ่งขยัน ยิ่งอยากทา ยิ่งดีใจที่มีสอนไปเรื่อย ๆ ยิ่งเรียนยิ่งรู้สึกว่ายังไม่จบ ยังมีให้เรียนต่ออีกเยอะเลย เรียนได้นิด เดียวเอง เรารู้นิดเดียว ยังมีอีกเยอะเลย...มี ขอให้ตั้งใจขยัน เราก็พยายามทาให้สนุกนะ
รู้สึกว่ามาทาความเข้าใจ อะไรที่เกิดขึ้นมา พอมีความศรัทธา เคารพเชื่อมั่นในธรรมะที่ท่านสอนปุ๊บ นี่นะ ปัญญาเราเริ่มเข้าใจมากขึ้น เริ่มแตกฉานมากขึ้น จนมีครั้งหนึ่ง ที่เทศน์เรื่องศรัทธาทาให้ปัญญาเกิด ยิ่งมีศรัทธาปัญญายิ่งแตกฉาน เพราะอะไร ไม่ใช่ว่าเราไปคิดมาก เราเชื่อมั่นในธรรมะ ยิ่งพิจารณายิ่งเห็น ชัดตามนั้นมากขึ้นเรื่อย ๆ ยิ่งเห็นประโยชน์ ยิ่งเห็นคุณค่าของธรรมะมากขึ้น แล้วยิ่งรู้สึกว่าธรรมะที่เรา ปฏิบัติ เหมือนกับมันไม่เข้าใจอะไรเลย พอยิ่งพิจารณา อ๋อ! เป็นอย่างนี้เอง อย่างนี้...เข้าใจธรรมะกว้างขึ้น เขาเรียกพิสดารมากขึ้น เราจะยิ่งมั่นใจมากขึ้น
แต่ถ้าเรารู้สึก เอ๊ะ ๆ! นิดเดียว ขาดศรัทธาขาดความเชื่อมั่น แล้วเราก็ไม่พิจารณาตามไป พอขาด ความศรัทธา ขาดความเชื่อมั่น คือไม่พิจารณาตาม ไม่ใส่ใจตาม ไม่รู้ตามที่เป็น ไม่สนใจจุดที่ต้องรู้ แล้วก็ พยายามมองอีกจุดหนึ่ง ๆ ไปคนละอย่างกัน เราก็เลยเข้าใจตรงนั้นยาก หรือเข้าใจไม่ชัดเจน ไม่เห็นตาม ที่ควรจะเป็น ที่บอกเราจับประเด็นไม่ถูก ว่าทาไมถึงต้องรู้ตรงนี้ จริง ๆ แล้ว รู้ตรงนี้แล้วดีอย่างไร รู้ตรงนี้