Page 53 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การเจาะสภาวะ
P. 53

231
ได้ยินเสียง เสียง...มีอาการได้ยินเสียงดังขึ้นมา แล้วก็ไปกาหนดรู้อาการเกิดดับของเสียง ตามกาหนดรู้ อาการเกิดดับของเสียงอย่างต่อเนื่อง จนอาการเกิดดับนั้นสิ้นสุด
คา วา่ อาการเกดิ ดบั นนั้ สนิ้ สดุ ไมไ่ ดห้ มายความวา่ เสยี งนนั้ หยดุ ไป หายไป เสมอไป ในบางขณะทา ไม ถึงเป็นแบบนั้น เพราะว่าบางครั้ง ใหม่ ๆ เรากาหนดรู้อาการเกิดดับของเสียง บางทีเราเห็นถึงอาการเกิดดับ ที่เป็นอารมณ์บัญญัติ มีเสียงเกิดดับเป็นกลุ่มเป็นก้อน จากนั้นอาการเป็นกลุ่มเป็นก้อนเปลี่ยนไป เหลือแต่ อาการเกิดดับเป็นขณะ ในกลุ่มก้อนนั้น มีอาการเกิดดับระยิบระยับ หรือแว็บ แว็บ แว็บ ดังแล้วแว็บ ๆ หาย แว็บหาย ๆ ๆ บางครั้งอาการเกิดดับที่แว็บหาย ๆ ต่อเนื่องหมดไป ว่างไปไม่มี...แต่เสียงนั้นยังดังต่อ ไปอยู่ นั่นคืออาการเกิดดับที่กาหนดรู้เสียงนั้น
เรากาหนดรู้อาการเกิดดับนั้นจนหมดไป แล้วเสียงก็ดังอยู่ ตรงที่อาการแว็บ ๆ หมดไปนี่นะ แล้ว เราจะดูอะไร ไม่เห็นอาการเกิดดับของเสียง ที่จริงแล้วคือ เมื่อกาหนดรู้อาการเกิดดับอย่างใดอย่างหนึ่ง อารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งหมดไป สิ้นสุดลง ก็ต้องมารู้ว่าสภาพจิตเป็นอย่างไร การที่เราสารวจสภาพจิตแบบนี้ เราจะเห็นว่า เราจะรู้ถึงกาลังของสติสมาธิปัญญาของเรา ว่าขณะนั้นเป็นอย่างไร หรือที่เรียกรวม ๆ ก็คือว่า ความรู้สึกขณะนั้น เราอ่อนกาลังลง หรือหมดแรงไป เหลือแต่สติดี รู้ชัด แต่ว่าไม่มีกาลังที่จะมุ่ง หรือเกาะ ติดอาการเกิดดับนั้นต่อ อาการเกิดดับเลยจบ เลยสิ้นสุดแค่ช่วงระยะหนึ่ง
จากนั้น พอจิตตั้งมั่นขึ้น นิ่งแล้วคอยสังเกตใหม่ ตั้งสติดูสภาพจิต ดูแล้วจิตรู้สึกนิ่ง รู้สึกสงบ แล้ว นิ่งในความสงบสักระยะหนึ่ง พอเริ่มสงบมากขึ้น พอไปสังเกตอาการของเสียงนั้นใหม่ เห็นว่าอาการเกิด ดับของเสียงนั้นเปลี่ยนไป เริ่มมีอาการเกิดดับของเสียง เริ่มปรากฏชัดขึ้นมา เปลี่ยนไป ต่างจากเดิมไป ถ้า เรากาหนดแบบนี้ การเจาะสภาวะก็จะต่อเนื่อง ถึงบอกว่า การที่เราเจาะสภาวะนั้น บางขณะก็เข้าถึงอาการ บางขณะเขา้ ไมถ่ งึ อาการ เปน็ เรอื่ งปกตธิ รรมดา ไมต่ อ้ งกงั วล จดุ นไี้ มต่ อ้ งกงั วล เพยี งแตห่ นา้ ทที่ ตี่ อ้ งทา คอื ใส่ใจ มีสติเกาะติดกับอาการให้มากที่สุด เท่าที่จะเป็นไปได้เท่านั้นเอง ไปถึงตรงไหนก็แค่นั้น
ทีนี้อย่างที่บอกแล้วว่า พอตามกาหนดรู้อาการเกิดดับสิ้นสุด แล้วกลับมาดูสภาพจิต อย่างเช่น พอ กลบั มาดแู ลว้ สภาพจติ รสู้ กึ วา่ เหมอื นออ่ นกา ลงั ลง ทา อยา่ งไรพลงั เราจะเพมิ่ ขนึ้ ตรงนแี้ หละทกี่ ารปรบั อนิ ทรยี ์ การปรับอินทรีย์พลังเพ่ิมขึ้น พลังตรงไหน พลังของกาลังของสมาธิ กาลังของสติ จึงจะมีความตั้งมั่นขึ้น มีความหนักแน่นขึ้น มีความตื่นตัวขึ้น หนักแน่น มั่นคง ตื่นตัว นี่คือเป็นลักษณะของจิต ที่ประกอบด้วย สติ สมาธิ และปญั ญา เขาเรยี กวา่ อนิ ทรยี จ์ ะสมดลุ กนั อนิ ทรยี ส์ มดลุ กนั สภาวธรรมกจ็ ะชดั ขนึ้ มาอกี เพราะ ฉะนั้น หน้าที่ของผู้ปฏิบัติ จึงกาหนดรู้ ในลักษณะอย่างนี้ไปเรื่อย ๆ
ทีนี้การเจาะสภาวะ ที่บอกว่าอาการสภาวธรรม อาการเกิดดับที่สลับกันขึ้นมา สลับอย่างไร สลับ จากอาการ...อารมณ์ทั้งสี่อย่างนั้นแหละ จากเรื่องของกาย เป็นเวทนา เป็นจิต เป็นสภาวธรรมที่เกิดขึ้น กาย เวทนา จิต ธรรม มันเป็นชีวิตของเรา อาศัยทั้งอารมณ์ภายในและภายนอก เพราะฉะนั้น ลองสังเกตดี ๆ ใน ขณะที่เรากาหนดรู้อาการเกิดดับหมดไป แล้วจิตรู้สึกว่าง รู้สึกเบา รู้สึกโล่ง ถามว่าเราจะเจาะสภาวะอย่างไร ยังไม่ต้องรีบ ให้ดูจิตที่จิตที่ว่าง โล่ง ใสนั่นแหละ


































































































   51   52   53   54   55