Page 29 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การดูสภาพจิต
P. 29

549
อย่างเด็ดขาดเป็นสมุจเฉท ก็ด้วยการเห็นชัดเจนแจ่มแจ้งด้วยตาปัญญาของตัวเองเท่านั้น ละอะไร ? ละ ทิฏฐิ คือความเห็น ความเข้าใจ หรือความเชื่อของเรานั่นแหละ การที่จะเปลี่ยนความเชื่อของเราให้ถูกต้อง ตามความเป็นจริง ก็ด้วยการพิจารณาความเป็นจริงให้เห็นชัดอย่างแจ่มแจ้งนั่นเอง และการพิจารณา ตรงนี้—พิจารณา “รูปที่นั่งอยู่” กับ “จิต” เป็นส่วนเดียวกันหรือคนละส่วนกัน—ทาซ้า ซ้า ซ้า... พิจารณา สังเกตอยู่เรื่อย ๆ จะได้เห็นตามความเป็นจริง
เมื่อเห็นเป็นสมุจเฉทชัดเจนเด็ดขาดว่าจิตกับกายแยกกันอย่างสิ้นเชิง ไม่ได้เป็นอันเดียวกันเลย ถึงแม้จะอาศัยกันก็ตามแต่ก็ยังเป็นคนละส่วน ขณะที่รูปนั่งอยู่-จิตก็ยังไปรู้ภาพที่อยู่ข้างหน้า ขณะที่รูปนั่ง อยู่-จิตก็แว็บไปที่เสียงที่ได้ยิน ขณะที่รูปนั่งอยู่-จิตก็ไปรู้ความคิดที่เกิดขึ้น จิตไม่ได้รู้ที่รูปตลอดเวลา เมื่อ เราเห็นว่าจิตกับกายแยกส่วนกัน แล้วส่วนไหนบ้างที่บอกว่าเป็นของเรา ? การที่จะเห็นสัจธรรมความจริงก็ ด้วยการปฏิบัติ ใส่ใจพิจารณาสภาวธรรม อาการของกาย เวทนา จิต ธรรม ที่กาลังปรากฏอยู่เฉพาะหน้าเรา ขณะนเี้ ดยี๋ วนจี้ รงิ ๆ ทเี่ รยี กวา่ เปน็ ปจั จบุ นั ขณะนแี่ หละ ทจี่ ะทา ใหเ้ รารแู้ จง้ เหน็ จรงิ ในคา สอนขององคส์ มเดจ็ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า เพราะฉะนั้น ในการปฏิบัติจึงเป็นสิ่งสาคัญอย่างยิ่งที่เราต้องพิจารณาถึงความจริง ข้อนี้ว่า รูปกับนามเป็นส่วนเดียวกันหรือคนละส่วนกัน
เมื่อพิจารณาเห็นว่ากายที่นั่งอยู่กับจิตที่ทาหน้าที่รู้เป็นคนละส่วนกัน และบอกว่าไม่ใช่ของเรา เมื่อ เหน็ วา่ รปู ไมใ่ ชเ่ รา ไมไ่ ดบ้ อกวา่ เปน็ เรา จติ ทที่ าหนา้ ทรี่ กู้ ไ็ มไ่ ดบ้ อกวา่ เปน็ เรา เมอื่ เหน็ สองอยา่ งนเี้ ปน็ อนตั ตา ไม่ได้บอกว่าเป็นเรา เป็นเขา หรือเป็นใคร สังเกตดูผลที่ตามมา สภาพจิตใจเป็นอย่างไร รู้สึกอย่างไร... รู้สึก สงบ รู้สึกนิ่ง รู้สึกเบา รู้สึกว่าง รู้สึกสว่าง รู้สึกผ่อนคลาย รู้สึกสบาย ? ตรงนี้เขาเรียก “สภาพจิต” สภาพ จิตเป็นผลของการปฏิบัติ เป็นผลของการกาหนดรู้ถึงความจริงที่เกิดขึ้น เหมือนกับที่เราตามรู้ลมหายใจ อย่างต่อเนื่อง แล้วจิตรู้สึกสงบขึ้น นิ่งขึ้น ตั้งมั่นขึ้น คือรู้สึกได้ทันที! เมื่อเราสังเกตเห็นผล เหมือนเป็นการ ดูจิตในจิตอีกทีหนึ่งว่า ขณะนี้สภาพจิตใจเป็นอย่างไรเมื่อเห็นถึงความเป็นคนละส่วนของรูปนามอย่างนี้
ในทานองเดียวกัน เมื่อมีเวทนาเกิดขึ้น มีความเจ็บ-ปวด-เมื่อย-ชา-คันเกิดขึ้นตามร่างกาย ขณะที่ เห็นว่าจิตกับกายเป็นคนละส่วนกัน แล้วเวทนาที่เกิดขึ้นตามร่างกาย “ความเจ็บ-ปวด-เมื่อย-ชา-คันที่เกิด ขึ้น” กับ “จิตที่ทาหน้าที่รู้” เขาเป็นส่วนเดียวกันหรือคนละส่วนกัน ? ให้พิจารณาแบบเดียวกัน เวทนาทาง กายอาศัยกาย ในเมื่อกายไม่บอกว่าเป็นเรา แล้วความปวด-ความเมื่อย-อาการชา-อาการคันเหล่านั้นบอก ว่าเป็นเราหรือเปล่า ? แล้วความปวด-ความเมื่อย-อาการชา-อาการคันอันนั้นมีความเที่ยง เกิดขึ้นแล้วตั้ง อยู่นิ่ง ๆ อย่างนั้นตลอด หรือมีความเปลี่ยนแปลง ปวดขึ้นมาก็เปลี่ยนไป บีบคั้นขึ้นมาก็จางลง เบาลง จาง ไป หายไป... เดี๋ยวก็ปวดขึ้นมาใหม่ ก็คือความไม่เที่ยงอย่างหนึ่ง ?
แล้วถ้าสังเกตเห็นว่า “ความปวดที่เกิดขึ้น” กับ “จิตที่ทาหน้ารู้” เป็นคนละส่วนกัน ก็พิจารณาถึงกฎ ของไตรลักษณ์ต่อไป คือการเกิดขึ้น-ตั้งอยู่-ดับไป นอกจากเห็นการเกิดขึ้น-ต้ังอยู่-ดับไป ก็พิจารณาดูว่า ความปวดที่เกิดขึ้น/เวทนาที่เกิดขึ้น เขาบอกว่าเป็นเราไหม เขาบอกว่าเป็นของเราไหม หรือเขาเกิดขึ้นตาม ปกตธิ รรมดาของรปู ขนั ธ์ เมอื่ มรี า่ งกายมขี นั ธอ์ นั นเี้ กดิ ขนึ้ ยอ่ มมเี วทนาเปน็ เรอื่ งปกติ และเวทนานกี้ เ็ ปน็ ขนั ธ์


































































































   27   28   29   30   31