Page 184 - พระอาจารย์เทศน์เนื่องในโอกาสวันสำคัญทางพุทธศาสนา
P. 184
180
พิจารณาถึงขันธ์ทั้งห้าถึงการเกิดดับตรงน้ี...เป็นอะไร ? น่ีคือสภาวธรรม ท่ีเป็นอารมณ์ปรมัตถ์ อารมณ์ปรมัตถ์เป็นสภาวธรรมท่ีละเอียด พอสภาว ธรรมละเอียด อาการพระไตรลักษณ์คือการเกิดข้ึน-ตั้งอยู่-ดับไปน้ันจะ เห็นได้ง่าย ถ้าเป็นของหยาบก็จะเห็นได้ยาก มีการเกิดขึ้นแล้ว...กว่าท่ีจะ ดบั ไปกใ็ ชเ้ วลานาน อยา่ งอาคารบา้ นเรอื น วตั ถทุ เ่ี ปน็ ของหนกั ตา่ ง ๆ กวา่ ที่ เขาจะดับไปเสื่อมไปก็ใช้เวลานาน บางครั้งนานกว่าชีวิตของคน แต่ถ้าเรา พิจารณาให้ใกล้เข้ามา เป็นของละเอียดขึ้น ก็คือชีวิตคนเรานี่แหละ เป็น ของบอบบาง มีการเกิดขึ้น-ตั้งอยู่-ดับไป ให้เรารับรู้ได้ทุกวันตลอดเวลา...
ชีวิตสัตว์โลกหรือมนุษย์นั้นเป็นของบอบบาง เปรียบเหมือนกับ น้าค้างในยามเช้า เมื่อแดดออกขึ้นมาก็สลายไป ละลายไป หายไปกับ อากาศ ชีวิตคนเราก็เหมือนกัน ชีวิตของเราสั้น ไม่ตั้งมั่น รูปอันนี้ไม่ได้ เปน็ ของถาวร ไมไ่ ดเ้ ปน็ อมตะ แตเ่ ปน็ ความเปลย่ี นแปลง เปน็ ความเสอ่ื มไป เส่ือมไปเร็วขนาดน้ีบางทีเราก็ยังไม่เห็นชัด แต่อาการของรูปนาม/ขันธ์ท้ัง ห้าท่ีเป็นสภาวธรรมท่ีเป็นปรมัตถ์ เป็นความรู้สึก เป็นเวทนาที่เกิดขึ้นมา นั้น ละเอียดและเกิดดับได้เร็ว ตรงนี้แหละที่เรานามาพิจารณา ทาให้เกิด ปัญญาที่ทาให้เราเข้าใจถึงสัจธรรมได้เร็วขึ้น เพื่อการละ ละจากละเอียด ไปหาหยาบ...
พอละตรงนไี้ ด้ ปญั ญาเหน็ สจั ธรรมความจรงิ ตรงนแ้ี จม่ แจง้ ชดั เจน มากเท่าไหร่ อุปาทานการที่จะเข้าไปยึดสิ่งที่เป็นบัญญัติที่เป็นของหนัก เปน็ ของใหญก่ จ็ ะคลายไป คลายไป คลายไป... เพราะของละเอยี ดยงั ละได้ ของหยาบกจ็ ะเปน็ ของทลี่ ะไดง้ า่ ยยงิ่ ขนึ้ ไป เพราะฉะนนั้ เพราะเหตนุ แี้ หละ เวลาเราปฏิบัติธรรม—อย่างที่เรานั่งกรรมฐานนี่—จะพิจารณาอะไร ? การ เจริญกรรมฐานจึงมาพิจารณาอาการพระไตรลักษณ์ของรูปนามขันธ์