Page 206 - พระอาจารย์เทศน์เนื่องในโอกาสวันสำคัญทางพุทธศาสนา
P. 206

202
เรากา หนดไปเราจะเหน็ วา่ สภาวะแบบนถี้ งึ จะอยากอยา่ งไรกเ็ ขา้ ไม่ ถึง เพราะอะไร ? กาลังเขาเป็นแบบนั้น สภาวะเขาเป็นแบบนั้น จะมีอยู่... สภาวะทเี่ กดิ ขนึ้ ปกตเิ ลย พยายามเขา้ แลว้ เขา้ ไมถ่ งึ สภาวะ ซงึ่ อนั นนั้ ไมผ่ ดิ ถึงแม้เข้าไม่ถึงสภาวะแต่ก็เห็นว่าสภาวะนั้นเปลี่ยนอย่างไร/อารมณ์นั้นมี การเปลี่ยนแปลงเกิดดับอย่างไร ตรงนี้แหละเราควรจะรู้ว่าธรรมชาติเขา เป็นแบบนี้ อะไรเปลี่ยนได้ เราสามารถเข้าไปถึงได้ สภาวะขณะไหนเป็น อย่างไร นี่คือสิ่งที่เราควรศึกษาพิจารณา และจะรู้ว่าสิ่งที่เราทามาไม่ใช่ว่า เราทาผิด เพียงแต่ว่าสภาวะช่วงนั้นเขาเป็นแบบนั้น อาการเขาถึงเป็นแบบ นั้น แต่พอสักพักพอเราปล่อยสบาย ๆ ทาไมเข้าถึงอาการได้ ?
ตรงนี้แหละสิ่งที่เราจะต้องสังเกตว่า พอปล่อยสบาย ๆ สภาวะเขา ถอยลง หรือพอปล่อยสบาย ๆ ไม่มีตัวตน จึงเข้าถึงสภาวะ ? ตรงนี้แหละ ที่ควรจะพิจารณาเยอะ ๆ เพราะนั่นคือเรารู้แนวทาง/รู้วิธีทา/รู้วิธีปฏิบัติ แล้วเมื่อรู้วิธีปฏิบัติ/วิธีทาแบบนี้ ไม่ว่าจะอยู่ในอิริยาบถไหน จะยืนจะเดิน จะนั่งจะนอนเราก็สามารถกาหนดได้ เมื่อมีสภาวธรรมเกิดขึ้น เราจะทาได้ ถูกว่ากาหนดอย่างไร ทาอย่างไร พิจารณาอะไร เข้าไปรู้อะไร ตรงนี้แหละ คือสิ่งที่ควรใส่ใจ เพราะฉะนั้น พรรษานี้ก็ลองตั้งจิตกันดู ฉันจะพิจารณา สภาวะให้ดีมากขึ้น ไม่ใช่ว่าทาให้สภาวะละเอียดเป็นฝอยนะ บางคนรู้สึก ว่าสภาวะละเอียดมากเลยเป็นฝอยเป็นละออง... ละเอียดกว่านั้นก็มี ไม่ เป็นฝอยหรอก เหลือแต่ความใส สะอาดอย่างเดียว
เพราะฉะนนั้ การกา หนดรใู้ หช้ ดั ใหล้ ะเอยี ดกค็ อื ใหส้ ตติ อ่ เนอื่ งใน การรับรู้อารมณ/์สภาวธรรมที่เกิดขึ้นถ้าสติเราต่อเนื่องไม่ขาดสายความ ละเอยี ดของสภาวะกจ็ ะปรากฏเอง ละเอยี ดตรงไหน ? รอยตอ่ ของอารมณ์ ความเปลยี่ นของอารมณ์ เปลยี่ นแปลงจากอารมณห์ นงึ่ ไปสอู่ กี อารมณห์ นงึ่


































































































   204   205   206   207   208