Page 207 - พระอาจารย์เทศน์เนื่องในโอกาสวันสำคัญทางพุทธศาสนา
P. 207

จากความใสไปสู่ความสงบ จากความสงบไปสู่ความอ่อนโยน จากความ อ่อนโยนเป็นความละเอียดอ่อน จากความละเอียดอ่อนมีความตั้งมั่นมี ความผ่องใสขึ้น รอยต่อเขาเป็นอย่างไร นี่คือความละเอียด การพิจารณา เหน็ ถงึ ผลทตี่ ามมา เหตปุ จั จยั ของอารมณ/์ ของสภาพจติ ทเี่ กดิ ขนึ้ นนั่ แหละ คอื สงิ่ ทเี่ ราควรใสใ่ จ ตรงนเี้ ขาเรยี กวา่ “ภาวนามยปญั ญา” เปน็ การพจิ ารณา สภาวธรรมที่กาลังปรากฏเกิดขึ้นนี้ว่ามีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร
การที่เห็นตรงนี้ เห็นความเป็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เป็นอาการ พระไตรลกั ษณ์ และยงิ่ เหน็ ไปลองดวู า่ สภาพจติ จะเปลยี่ นไปอยา่ งไร เพราะ ฉะนนั้ พวกเราทมี่ าปฏบิ ตั ใิ นชว่ งอาสาฬหบชู า-เขา้ พรรษาในปนี ี้ กข็ อใหเ้ รา ตงั้ จติ ใสใ่ จใหแ้ ยบคายมากขนึ้ ถา้ เราเขา้ ใจถงึ หลกั วธิ ปี ฏบิ ตั แิ ลว้ อยา่ สบั สน อย่ากังวล สภาวะเปลี่ยนอย่างไรหน้าที่เราคือเข้าไปกาหนดรู้ อารมณ์ที่เข้า มามีหลากหลายอารมณ์หลาย ๆ เรื่องราว แต่เวทนาที่เกิดขึ้นมามีอยู่สาม อย่าง ทุกขเวทนา สุขเวทนา และอุเบกขาเวทนา อารมณ์จะเปลี่ยนกี่เรื่อง กต็ าม แตส่ งิ่ ทกี่ ระทบจติ ใจเรา ทา ใหจ้ ติ ใจเราเปน็ ทกุ ข/์ เปน็ สขุ /เปน็ อเุ บกขา นั่นที่เรารู้ชัด อันนี้คือสิ่งที่ปรากฏขึ้นแล้วรู้ได้ทันที
เพราะฉะนั้น ถ้ามีความทุกข์ขึ้นมา...ดับทุกข์! ทุกข์เพราะอะไร ? เพราะมีตัวตนมีอัตตาขึ้นมา ดับทุกข์ไปแล้วค่อยมาพิจารณาสภาวธรรมที่ เกิดขึ้นต่อไป ถ้ารู้สึกสุขเวทนาขึ้นมา ให้เพิ่มความสุข ทาความสุขนั้นให้ กวา้ งขนึ้ ใหใ้ หญข่ นึ้ เพอื่ ทจี่ ะใชจ้ ติ ทสี่ ขุ ทเี่ ปน็ กศุ ลนนั้ รบั รอู้ ารมณต์ า่ ง ๆ ตอ่ ไป เอาจิตที่เป็นกุศลนี้มาใช้ประโยชน์ให้มากขึ้นให้ต่อเนื่องไป เราจะได้อยู่ กับจิตที่เป็นกุศลเป็นความสุข บ้านเราเราสร้างแล้วก็อาศัย อยู่ให้เป็น จิต ที่เป็นสุข จิตที่อ่อนโยน จิตที่มีเมตตา...ก็เหมือนบ้านเราเอง เพราะฉะนั้น คดิ วา่ เราคงอธษิ ฐานพรรษานกี้ นั นะ อธษิ ฐานยงั ไงกต็ ามใจ...เปน็ สทิ ธขิ อง
203


































































































   205   206   207   208   209