Page 211 - พระอาจารย์เทศน์เนื่องในโอกาสวันสำคัญทางพุทธศาสนา
P. 211

ได้ แต่ถ้าเราเรียนรู้ธรรมชาติที่อยู่รอบตัว เป็นต้นไม้ เป็นฝนฟ้าอากาศ ต่าง ๆ เราไม่สามารถที่จะพ้นทุกข์อย่างสิ้นเชิงได้ เหตุที่ทาให้เราทุกข์ไม่ ได้เกิดเพราะว่าเรารู้หรือไม่รู้ธรรมชาติตรงนั้น เพราะทุกอย่างเปลี่ยนไป ตามเหตุปัจจัยของตน แต่การเรียนรู้มาทาความเข้าใจถึงธรรมชาติของรูป นามขันธ์ห้า...
ที่สาคัญก็คือว่า รูปนามขันธ์ห้านั้นพระพุทธเจ้าพิจารณาแล้วเห็น อะไรถึงนาธรรมะตรงนั้นมาสอนเรา ? รูป-นาม/ร่างกาย-จิตใจที่บอกว่า เป็นตัวเราของเรา ใครที่เกิดขึ้นมาก็บอกว่านี่เป็นตัวเราเป็นของเราหมด ทาไมพระองค์จึงทรงตรัสว่ารูปนามขันธ์ห้านี้ไม่มีส่วนไหนไม่มีอะไรเป็น ตัวตนเป็นเราเป็นเขา ? พระองค์ทรงจาแนกแยกให้เราได้พิจารณาตามว่า ธรรมชาติของรูป รูปคือร่างกาย รูปที่กาลังนั่งอยู่นี้ก็สักแต่ว่ารูป รูปเป็น ของไม่เที่ยง เกิดขึ้น-ตั้งอยู่-ดับไป เกิดขึ้นแล้วเสื่อมไปเปลี่ยนไปสลายไป ไม่เที่ยง มีความเปลี่ยนแปลง แล้วก็ไม่สามารถบังคับบัญชาให้เป็นตาม ความอยากความต้องการทั้งหมดได้
ทีนี้ การพิจารณาที่จะเห็นชัดถึงความเป็นคนละส่วนหรือความ ชดั เจนในสจั ธรรม จงึ ใหพ้ จิ ารณาดรู ปู ทนี่ งั่ อยู่ อยา่ งทเี่ ราปฏบิ ตั กิ นั ทบี่ อก ยกจิตขึ้นสู่ความว่าง กาหนดรู้ถึงรูปนี้ ถึงกาย ถึงตัวที่นั่งอยู่นี่ บอกว่าเป็น เราไหม หรอื วา่ ตวั ทนี่ งั่ อยกู่ บั จติ ทที่ า หนา้ ทรี่ ู้ เขาเปน็ สว่ นเดยี วกนั หรอื เปลา่ อนั นคี้ อื การพจิ ารณา คา ถามเหลา่ นมี้ ใี ครถามภกิ ษุ/บคุ คลตา่ ง ๆ วา่ “รปู ที่ นงั่ อยนู่ เี่ ปน็ เราไหม ?” ถา้ เราพจิ ารณายอ้ นกลบั ไป นอ้ ยมากหรอื แทบจะไม่ เคยไดย้ นิ หรอื ไมม่ เี ลยวา่ มใี ครถามภกิ ษ/ุ ถามผแู้ สวงหาทางหลดุ พน้ อยา่ งนี้ ว่า “รูปนี้เป็นของเราหรือเปล่า ? รูปนี้เที่ยงหรือไม่เที่ยง ? รูปนี้เป็นอัตตา หรืออนัตตา ?”
207


































































































   209   210   211   212   213