Page 215 - พระอาจารย์เทศน์เนื่องในโอกาสวันสำคัญทางพุทธศาสนา
P. 215
เดียวกันเลย
ต่างกันอย่างไร ? เวลาเวทนาเกิดขึ้น จิตก็ทาหน้าที่รู้ พอเวทนา ดับไป จิตก็ยังทาหน้าที่รู้ถึงความเปลี่ยนไปถึงการดับไปของเวทนาอยู่ เพราะฉะนนั้ เวทนากบั จติ ทที่ า หนา้ ทรี่ กู้ เ็ ปน็ คนละสว่ นกนั ถา้ พจิ ารณาแบบ นี้ เราจะเห็นว่าเวทนาก็เป็นขันธ์ขันธ์หนึ่ง ไม่ได้เป็นเรา เวทนาเกิดขึ้น-ตั้ง อย-ู่ ดบั ไป ตรงนแี้ หละทถี่ ามวา่ เวทนาเทย่ี งหรอื ไมเ่ ทยี่ ง ? เวทนาเปน็ ทกุ ข์ หรือเป็นสุข ? เวทนาเป็นอัตตาหรืออนัตตา ? บังคับให้เป็นอยู่อย่างนั้น ตลอดได้ไหม ? บังคับไม่ให้เกิดขึ้นตลอดไปได้หรือเปล่า ? ยิ่งกาหนดรู้ ยิ่งพิจารณาต่อเนื่อง ยิ่งเห็นชัดว่าเวทนาขันธ์ย่อมทาหน้าที่ของตนด้วย เหตุปัจจัย ไม่สามารถบังคับให้เป็นอย่างที่ต้องการได้ นี่คือการพิจารณา สภาวธรรม
อยา่ งเชน่ ในขณะนที้ เี่ ราพจิ ารณาคา สอนขององคส์ มเดจ็ พระสมั มา สัมพุทธเจ้าเพื่อการทบทวน เพื่อการปฏิบัติ พิจารณาให้เห็นจริงว่าธรรมะ ที่พระองค์ทรงแสดงนั้นเป็นอย่างนั้นจริงอยู่เสมอ ใคร ๆ ก็สามารถพิสูจน์ ธรรมะอันนั้นได้ เพราะนั่นคือสัจธรรม เป็นจริงอยู่ตลอดเวลาและไม่ จากัดกาล พิสูจน์เมื่อไหร่ก็ได้ เมื่อกาหนดรู้ก็จะเป็นอย่างนั้นเสมอ นั่นคือ เป็นความจริง เพราะฉะนั้น เมื่อเห็นแบบนี้แล้วควรจะวางจิตอย่างไรกับ เวทนาทเี่ กดิ ขนึ้ ในเมอื่ เวทนาทปี่ รากฏเกดิ ขนึ้ มาเปน็ ไปตามเหตตุ ามปจั จยั ของตน ไม่ได้เป็นไปตามความอยาก/ความปรารถนา/ความต้องการของ ใคร พระพุทธเจ้าจึงถามภิกษุว่า ควรหรือที่จะเข้าไปยึดว่าเป็นตัวเราของ เรา เวทนาก็สักแต่เวทนา เกิดขึ้น-ตั้งอยู่-ดับไป เป็นไปตามเหตุตามปัจจัย ของตน
211