Page 217 - พระอาจารย์เทศน์เนื่องในโอกาสวันสำคัญทางพุทธศาสนา
P. 217
สบายใจขึ้นมา ก็จะรู้สึกว่าเราเป็นผู้ไม่สบาย เราเป็นทุกข์ แต่พอกาหนด ไปสักระยะ อยู่ ๆ ไปเหตุปัจจัยเปลี่ยน ความทุกข์นั้นลดลง ความไม่ สบายใจหายไป เราก็ยังทาหน้าที่รับรู้อย่างอื่นต่อไป อันนี้คือการพิจารณา แบบหยาบ ๆ แบบกว้าง ๆ ว่า ทาไมในเมื่อความทุกข์หายไป เราไม่หาย ไปด้วย ถ้าเป็นส่วนเดียวกัน ?
นั่นเป็นเพราะว่าความทุกข์ที่เกิดขึ้นกับจิตที่ทาหน้าที่รู/้ วิญญาณรู้ เป็นคนละส่วนกัน เพราะฉะนั้น ตัวเวทนาทางจิตกับจิตที่ทาหน้าที่รู้เป็น คนละส่วนกัน แต่ถ้าเรากาหนดรู้แยกชัดถึงความเป็นคนละส่วนระหว่าง เวทนาทางกายกับจิต เวทนาทางจิตก็คล้าย ๆ (เวทนาทางกาย) “คล้าย ๆ” อย่างไร ? เมื่อมีความทุกข์เกิดขึ้น ก็จะมีความหนัก ความอึดอัด ความไม่ สบายเกิดขึ้น มีน้าหนักเกิดขึ้น เพราะฉะนั้น จิตที่หนักกับเวทนาที่หนัก ๆ ทกี่ ายเรานคี่ ลา้ ย ๆ กนั คอื เปน็ กลมุ่ เปน็ กอ้ นเหมอื นกนั ทางจติ เกดิ บรเิ วณ หทยวัตถุ ทางกายจะเกิดตาแหน่งบริเวณที่เวทนานั้นปรากฏ นี่คือจุดหนึ่ง ที่พึงสังเกตพิจารณา
ทีนี้ อาศัยความเพียรการกาหนดรู้ใส่ใจพิจารณาโดยแยบคาย เมื่อเห็นว่าแม้แต่เวทนาทางจิตที่เกิดขึ้นก็เกิดตามเหตุปัจจัย พอมีผัสสะ ขึ้นมา เวทนาเกิดขึ้น มีความไม่รู้ความไม่เข้าใจจึงเข้าไปยึดว่าเวทนาเป็น ของเรา ความทุกข์ก็ตามมา จะมากจะน้อยก็ขึ้นกับการเข้าไปคลุกคลียึด ติดกับอารมณ์ตรงนั้นได้ยาวนานแค่ไหน ปรุงแต่งต่อไปมากแค่ไหน อันนี้ อยา่ งหนงึ่ ทนี ี้ เมอื่ กา หนดรใู้ นลกั ษณะอยา่ งนี้ จะเหน็ วา่ จติ ทที่ า หนา้ ทรี่ กู้ บั ความทกุ ขท์ เี่ กดิ ขนึ้ เปน็ คนละสว่ นกนั ... แลว้ อนั ไหนเปน็ ของเรา ? จติ ทที่ า หน้าที่รู้บอกว่าเป็นเราไหม ? อย่างที่เราพิจารณา จิตที่ทาหน้าที่รู้ถึงเวทนา ทางกายไม่บอกว่าเป็นเรา เวทนาทางกายไม่บอกว่าเป็นเรา แล้วความทุกข์
213