Page 71 - พระอาจารย์เทศน์เนื่องในโอกาสวันสำคัญทางพุทธศาสนา
P. 71
เพราะปญั ญาไดเ้ หน็ ชดั ถงึ ความเปน็ จรงิ แลว้ วา่ ทกุ ๆ อารมณท์ เี่ กดิ ขนึ้ นนั้ ล้วนตั้งอยู่ในกฎของไตรลักษณ์ คือความเป็นอนิจจัง-ทุกขัง-อนัตตา และ เปน็ อยอู่ ยา่ งนเี้ สมอ ไมว่ า่ เราจะไปเกดิ อยภู่ พภมู ไิ หนชาตไิ หนกต็ าม ถา้ เรา ได้ศึกษาธรรมะ เราจะเห็นว่าก็ตั้งอยู่ในกฎของไตรลักษณ์อยู่เสมอ ไม่ว่า พระพุทธเจ้าพระองค์ใดอุบัติขึ้นมาบนโลกก็สอนเรื่องนี้ เรื่องการออกจาก ทกุ ข์ เรอื่ งของกฎของไตรลกั ษณ์ ความเปน็ อนจิ จงั -ทกุ ขงั -อนตั ตา มาตรสั รู้ เรอื่ งทกุ ข์ เหตใุ หเ้ กดิ ทกุ ข์ ขอ้ ปฏบิ ตั ถิ งึ ความดบั ทกุ ข์ แลว้ รวู้ า่ ทกุ ขด์ บั แลว้ เป็นอย่างไรนั่นเอง
เพราะฉะนั้น การที่ยังมีคาสอนของพระองค์อยู่อย่างนี้ เราควรจะ ทาอย่างไร ? เราควรจะใส่ใจให้ต่อเนื่อง ให้ความสาคัญกับจิตใจของเรา ให้คุณค่ากับชีวิตนี้ ชีวิตทุกคนมีคุณค่า แต่จะทาให้คุณค่านั้นเหมาะสมมี คุณค่ายิ่ง ๆ ขึ้นไป ก็คือการทาจิตของเราให้ผ่องใส ให้สะอาด ให้หมดจด ให้ความทุกข์น้อยลง น้อยลง จนอยู่อย่างอิสระ อยู่อย่างสงบ อยู่อย่างมี คุณค่าในตัวของตัวเองนั่นแหละชีวิตถึงจะมีค่าจริง ๆ และการที่เราจะเข้า ถึงตรงนั้นได้ ก็ด้วยการฝึกสติ-สมาธิ-ปัญญาของเรา ซึ่งสามารถทาได้ ตลอดเวลาไม่จากัดกาล ไม่ว่าจะยืนจะเดินจะนั่งจะนอน จะกินดื่มทาพูด คดิ ทา กจิ กรรมตา่ ง ๆ เราสามารถเจรญิ สตไิ ดต้ ลอดเวลา และเปน็ สงิ่ สา คญั ด้วย
สิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่เราต้องใช้กับชีวิตทุก ๆ วันอยู่แล้ว แต่การที่เรา เพมิ่ “เจตนา” ทจี่ ะรใู้ หช้ ดั ถงึ ธรรมชาตขิ องเขาอกี ทหี นงึ่ เพมิ่ ขนึ้ ไป พจิ ารณา ถึงความเป็นจริง ถึงกฎของไตรลักษณ์ ถึงการเกิดขึ้น-ตั้งอยู่-ดับไป หรือ เพิ่มเจตนาที่จะใช้สติอย่างไม่มีตัวตน มีสติรับรู้อารมณ์ต่าง ๆ ด้วยความ รู้สึกที่ไม่มีเรา มีแต่สติ-สมาธิ-ปัญญาทาหน้าที่รู้ ถ้าพูดว่า “สติ-สมาธิ-
67