Page 37 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การยกจิตขึ้นสู่ความว่าง
P. 37
33
เราไม่ต้องกลัวว่าจะไปยึด ไม่ต้องปฏิเสธอารมณ์เหล่านั้นว่าอย่าเกิด แต่กลับรู้สึกว่าเขาไม่เข้าไปยึด เกิดก็ เกิดไป เกิดก็เกิดไป นี่คือการรับรู้ผ่านบรรยากาศของความรู้สึก
แล้วการที่เข้าไปพิจารณาเราจะได้เห็นอะไร ถ้าพิจารณาข้อผิดสังเกตจากสารวจนี้ เราจะเห็นว่าจิต ที่กาลังเป็นอยู่ ขณะที่จิตดวงนี้เกิดขึ้นกับเรา หรือขณะที่จิตเราเป็นอย่างนี้รู้สึกอย่างไร ดีไหม ใครเป็น เรา เปน็ เราเปน็ คนทมี่ จี ติ ใจทวี่ า่ ง เราเปน็ คนทมี่ จี ติ ใจของเราวา่ งกวา้ งเบาสงบใสหรอื สวา่ ง และจติ ใจนนั้ ถา้ เปน็ ของเรา ถา้ เปน็ สภาพจติ เราโดยสมมตทิ เี่ รยี กวา่ เปน็ เรา ถา้ ใจเราใสขนาดนนั้ เรากเ็ ปน็ คนทมี่ จี ติ ใจใส ไมใ่ ชแ่ ค่ จิตใจ เราเป็นคนที่มีจิตใจที่ใสเราเป็นคนที่มีจิตใจที่ว่าง ถ้าเรานอกจากใสว่างแล้ว ถ้าจิตใจของเราเต็มไป ด้วยความสุข มีความสุข มีความอ่อนโยน มีเมตตา...เกิดไหม เราก็จะเป็นคนที่มีเมตตา กลายเป็นว่าเรา เป็นคนที่มีเมตตา นั่นแหละแสดงว่าสิ่งที่เราเป็นคืออะไร สิ่งที่เราเป็นจริง ๆ กับสิ่งที่จิตเป็น สิ่งที่เราเป็นกับ สิ่งที่จิตกาลังเป็นอยู่ เราเป็นคนจิตใจดีเพราะใจเรามีเมตตาก็กลายเป็นคนจิตใจดี
เพราะฉะนั้นการปฏิบัติคือการที่ดูสภาพจิตเยอะ ๆ การที่รู้อาการเกิดดับรู้อาการพระไตรลักษณ์ ส่งผลต่อสภาพจิต สภาพจิตใจเป็นอย่างไร นี่แหละถึงบอกว่าถ้าเรามองผ่านบรรยากาศป้องกันอารมณ์ เข้ามากระทบ นอกจากป้องกันอารมณ์เข้ามากระทบแล้ว ทาให้เราอยู่อย่างสงบ เพราะฉะนั้นการสารวจ การสังเกตตรงนี้จึงเป็นสิ่งสาคัญ ไม่ใช่แค่ว่ามันว่างมันเบามันใสมันโล่งมันโปร่งอย่างเดียว มันทั้งนั้นเลย ไม่มีเรา มันมากเลยนะ เดี๋ยวเปล่ียน ๆ ๆ เดี๋ยวกลับมาที่เดิม เปลี่ยนวาบ ๆ ๆ ใส ๆ ว่าง ๆ เบา ๆ ๆ สัก พักทึบเหมือนเดิมอีกแล้ว ทึบเหมือนเดิมกลับมาตื้อแล้ว ทาไมล่ะ ก็เขาเปลี่ยน แทนที่จะมาหยุดอยู่ แล้ว กังวลกับความตื้อ ว่ามันตื้อได้มันก็ว่างได้ เพราะเราเคยว่างได้ก็ยกจิตใหม่สิ ไม่ใช่ปัญหาเลย มันไม่ใช่เรื่อง เรื่องใหญ่สาหรับเรา เป็นเรื่องสาคัญแต่ไม่ใช่เรื่องใหญ่ที่จะทา และทาได้ง่าย ๆ แต่เป็นเรื่องสาคัญสาหรับ เรา นี่คืออย่างหนึ่ง
คาถามนี้เหมือนกัน มีโยมคนหนึ่งเขาถามจาได้นะที่วัดบางไผ่นั่นแหละ เขาถามอาจารย์ เขาเขียน จดหมายไปถามอาจารย์ว่า คาถามนี้จะถามได้ไหมอาจารย์จะตอบไหม คาถามที่โยคีถามเมื่อกี้นี้ เขาเขียน จดหมายถามก่อนว่าจะถามได้ไหม เขาไม่กล้าถามต่อหน้าโยคี โยมเขาเกรงใจ กลัวว่าถามแล้ว...ถ้าถามสด เดี๋ยวอาจารย์จะตอบไม่ได้ แล้วอาจารย์ไม่ตอบเดี๋ยวจะไม่ดี ตามมารยาทเขาก็ต้องเขียนจดหมายมา ถามก่อน
อ่าน ๆ ดู เมื่อ ๖๐ ปีก่อนครูบาอาจารย์ว่าอย่างนี้ เมื่อ ๖๐ ปีก่อนนะ เขาเรียกอะไร อะไรนะจา ได้ไหม จาได้แต่ป่าช้า ๖ คือขันธ์ ๕ เขาเรียกอะไร ป่าช้า ๖ สานวนเขานะ แต่ก็บอกให้มีสติไม่ให้เข้าไปยึด แต่ก็ทาไม่ได้ กระทบเมื่อไหร่ก็รู้สึกยังมีเวทนาเมื่อนั้น ถามอาจารย์ว่าจะทาอย่างไรดี ให้โยมการุณไปตาม ตอบได้ มาเถอะมาถาม ให้เขามาถาม
เขาถามก็ตอบ บอกว่าวิธีการที่กระทบแล้วไม่ให้เกิดเวทนาทาอย่างไร เอาความรู้สึกที่ว่างมองให้ ทะลุไปเลยสิ เวลาเห็นรูปเอาความรู้สึกที่ว่างมองให้ทะลุรูปนั้น ลองดูสิว่ารู้สึกเป็นอย่างไร ภาพที่เราเห็นแล้ว มองทะลุ มองทะลุไปเลย...รู้สึก เห็นไหมมีเวทนาไหม พูดแค่นั้นแหละ อ๋อ...ตอบคาเดียวแล้วอ๋อเลย แล้ว