Page 52 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การยกจิตขึ้นสู่ความว่าง
P. 52
48
บางคนนั่งไม่ถึง ๒๐ นาทีก็หลับแล้ว ตอนนั่งหลับง่าย-ตอนนอนหลับยาก! เวลานอนก็ เมื่อไหร่จะหลับสัก ทีหนึ่ง! นอนก็ไม่หลับ แต่พอนั่งสมาธิหลับง่ายจัง!
งั้นเราก็เปลี่ยนวิถีชีวิตใหม่ ใช้วิธีนอนเจริญกรรมฐาน แล้วก็นั่งหลับเอา! นั่งหลับไม่ดี นอนหลับ ดีกว่านะจะได้พักเต็มที่ เพราะฉะนั้น ก็พยายามเสีย ตอนนั่งอย่าเพิ่งหลับ ตื่นก่อน! ตื่นก่อน! แล้วค่อย ไปหลับตอนนอน บอกตัวเองอย่างนั้น จะได้ปรับวิถีชีวิตให้เหมาะสม เพราะฉะนั้น ขอฝากเอาไว้ เวลานั่ง กรรมฐาน เราจะได้ไม่ต้อง อ้าว! เดี๋ยวคิดเดี๋ยวคิด เดี๋ยวปวดเดี๋ยวเมื่อย จะนั่งสมาธิก็ไม่ได้ พอจะนั่งดู ลมหายใจ...แปบ๊ เดยี วคดิ อกี แลว้ พอจะนงั่ ดลู มหายใจ...แปบ๊ เดยี วปวดอกี แลว้ ปวดกเ็ ปน็ สภาวะ ปวดมาสิ ฉันจะมีสติจะรู้ความปวด! พอเวลามันคิดขึ้นมา อ๋อ! คิดแล้วเหรอ โชคดีจัง เราจะได้กาหนดรู้ความคิด ไม่ใช่จะกาหนดแค่ลมหายใจ
หลักของวิปัสสนากรรมฐานมีอยู่สี่อย่าง ดูกาย ดูเวทนา ดูจิต รู้ธรรม สี่อย่างนี้เขาจะสลับกันมา ไมใ่ ชป่ ญั หาไมใ่ ชอ่ ปุ สรรคของการปฏบิ ตั ธิ รรม แตว่ า่ ในสอี่ ยา่ งนอี้ ะไรมากอ่ นเราจะรกู้ อ่ นเลย พอนงั่ หลบั ตา ยังไม่ทันดูลมหายใจเลย ความคิดมาก่อนแล้ว ความคิดมาก่อน ฉันก็จะกาหนดความคิดก่อนนี่แหละ! พอนั่งปุ๊บความปวดมา ก็รู้ปวดก่อน พอรู้ปวดเสร็จ ลมหายใจชัดขึ้นมา ก็รู้ลมหายใจ... สี่อย่างนี้ กาย- เวทนา-จิต-ธรรม นั่นเขาเรียงลาดับไว้ แต่เวลาสภาวธรรมเกิดอาจจะไม่เรียงลาดับแบบนี้ อาจจะความคิด มาก่อน แล้วลมหายใจตามมา แล้วก็ปวด แล้วก็สลับกัน แต่ไม่ว่าอะไรเกิดก่อนก็ตามเราจะรู้อันนั้นก่อน
เพราะอะไร ? สิ่งที่กาลังเกิดขึ้นจริง ๆ นั้นคืออารมณ์ปัจจุบัน เราจะได้มีงานให้จิตทาอยู่เนือง ๆ ส ต ขิ อ ง เ ร า ก จ็ ะ ด มี กี า ล งั ข นึ ้ ม า น คี ่ อื ห ล กั ส า ค ญั ข อ ง ก า ร ก า ห น ด อ า ร ม ณ ก์ ร ร ม ฐ า น พ ดู พ อ ใ ห เ้ ป น็ แ น ว ท า ง เ ป น็ ตัวอย่างเพื่อเราจะได้มีหลักในการปฏิบัติเวลานั่งกรรมฐาน จะดูอะไร จะทายังไง จะได้ อ๋อ! ทาแบบนี้แบบ นี้นะ อย่างเช่น มีสติตามรู้อาการของลมหายใจว่าเขาเปลี่ยนแปลงอย่างไร มีความคิดขึ้นมา...ก็ตามรู้อาการ เกิดดับของความคิด มีสีมีแสงขึ้นมาข้างหน้า...ก็ตามรู้อาการเกิดดับของสีแสงที่เกิดขึ้นมา นี่คืออารมณ์ หลัก ๆ เพราะฉะนั้น ทุกครั้งที่นั่งสมาธิหรือเจริญกรรมฐาน เราก็ทาแบบนี้ไป
อกี อยา่ งหนงึ่ ถา้ เราตามรดู้ ว้ ยความรสู้ กึ ทไี่ มม่ ตี วั ตนหรอื ดว้ ยจติ ทวี่ า่ งไดก้ จ็ ะดี ยกจติ ขนึ้ สคู่ วามวา่ ง ไดก้ นั หรอื ยงั ? เมอื่ กอี้ าจารยถ์ บิ อกวธิ ยี กจติ ขนึ้ สคู่ วามวา่ งแลว้ นะ การยกจติ ขนึ้ สคู่ วามวา่ ง ลองดงู า่ ย ๆ นะ เราเอาจิตออกมา ยกจิต ทาจิตให้กว้าง ๆ พอยกจิตขึ้นสู่ความว่างแล้ว จิตที่ว่างรู้สึกแบบไหน ? สบาย เบา นะ พอจิตเบาแล้ว ย้ายจิตที่เบาไปที่สมอง ทาไมถึงย้ายไปที่สมอง ? เพราะเวลาเราเครียด ไม่ว่าจะเครียด ด้วยเรื่องอะไรก็ตาม มันจะตึงจะตื้อหมด สมองเราจะมึน แต่ถ้าเรายกจิตขึ้นสู่ความว่างได้ เอาจิตที่ว่าง ๆ ไปที่สมองของเรา ให้มันทะลุสมองไปเลย อาการเคร่งตึง อาการมึน อาการตื้อ อาการปวดหัวตึ้บ ๆ เขาก็ จะค่อย ๆ คลาย คลาย... ออกไป นี่คือประโยชน์ของการใช้จิตที่ว่าง
แล้วถ้ายกจิตขึ้นสู่ความว่างได้ เวลาเราหายใจเข้า ให้ความว่างความเบาเข้าไปด้วย จะรู้สึกว่าเวลา หายใจไมต่ อ้ งใชแ้ คจ่ มกู สองรู มนั จะโฟลว์ (flow) จะโปรง่ โลง่ เขา้ ไป เวลาหายใจออกกจ็ ะรสู้ กึ โลง่ เบาออกมา เหมือนกับจมูกเรากว้างขึ้น ออกซิเจนเข้าไปได้เยอะขึ้น หายใจเข้า-ออกได้สะดวก ไม่มีอาการอึดอัด เพราะ