Page 62 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การยกจิตขึ้นสู่ความว่าง
P. 62
58
ปัญญาของตน ให้มีความแก่กล้า มีความตั้งมั่น มีความเฉียบแหลมยิ่งขึ้น เพื่ออะไร เพื่อชาระ เพื่อละ เพื่อคลาย เพื่อละการยึดติด เพื่อคลายอุปาทานที่เกิดขึ้น ชาระจิตใจให้เกิดความผ่องใส เกิดความสะอาด มากขึ้น เพราะฉะนั้นขอให้เราตั้งใจ พิจารณาทุก ๆ อาการที่เกิดขึ้น
ทีนี้สภาวธรรมที่บอกว่า อาการทางกาย เวทนา จิต ธรรม ที่เกิดขึ้น ๔ อย่างนี้ เป็นอารมณ์หลัก ในการเจริญกรรมฐาน เป็นอารมณ์หลัก เป็นที่ตั้งของการกาหนดรู้ถึงการเกิดขึ้นตั้งอยู่ดับไป จะเกิด เฉพาะตอนที่จะนั่งกรรมฐานอย่างเดียว...หรือเปล่า อารมณ์ทั้ง ๔ อย่างนี้ จะเกิดขึ้นในอิริยาบถทั้ง ๔ ของเรา กค็ อื ยนื เดนิ นงั่ นอน รวมทงั้ อริ ยิ าบถยอ่ ย กนิ ดมื่ ทา พดู คดิ ในอริ ยิ าบถยอ่ ย ในการเคลอื่ นไหว ตา่ ง ๆ อาการพระไตรลกั ษณ์ อาการเกดิ ดบั ของอาการทางกาย เขาเรยี กวา่ กายานปุ สั สนาสตปิ ฏั ฐานกป็ รากฏ ขึ้นมา อย่างเช่นเราเดินจงกรม เราเดินจงกรมกาหนดรู้อาการเคลื่อนไหว การก้าวไปแต่ละก้าว แต่ละก้าว ก็ คือการกาหนดรู้อาการทางกาย เขาเรียกกายานุปัสสนาสติปัฏฐาน ตามกาหนดรู้อาการเกิดดับของการเดิน ว่า มีการเกิดดับในลักษณะอย่างไร ดูจิตไปด้วยในตัวว่า จิตมีการเกิดดับอย่างไร เวลาเดินจงกรมก็ทาแบบ เดียวกัน
เหมือนเรานั่งอยู่ตอนนี้ เรายกจิตขึ้นสู่ความว่าง ทาจิตให้ว่าง ๆ นั่งอยู่ในที่ว่าง ๆ แล้วพิจารณา อาการทางกายที่เกิดขึ้น พิจารณาเวทนา ที่อาการเกิดดับของเวทนาที่ปรากฏขึ้น พิจารณากาหนดรู้ อาการ เกิดดับของความคิดที่เกิดขึ้น ตอนเดินจงกรมก็เช่นเดียวกัน ยกจิตขึ้นสู่ความว่าง แล้วเดินอยู่ในที่ว่าง ๆ พร้อมกับสังเกตกาหนดรู้อาการเกิดดับของการเดิน ว่าเกิดดับอย่างไร เมื่อมีความคิดแทรกเข้ามา มีความ คิดแทรกเข้ามา หรือเกิดขึ้นในขณะที่เดินจงกรม ก็ให้กาหนดรู้ว่าความคิดนั้นเกิดดับอย่างไร ในขณะที่เดิน จงกรมนนั้ ถา้ ความคดิ แทรกเขา้ มาอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ขณะทเี่ ดนิ อย.ู่ ..ใหห้ ยดุ เดนิ ยนื นงิ่ ๆ แลว้ กา หนดรอู้ าการ เกิดดับของความคิดนั้น พอความคิดหมด หรือหยุดไป ค่อยมาเดินต่อ สลับแบบนี้ไปในการเดินจงกรม
เรานงั่ กรรมฐาน เราใชเ้ วลานานเทา่ ไหร่ ใชเ้ วลานงั่ สกั ครงั้ หนงึ่ กต็ ามกา ลงั ของแตล่ ะคน จะเรมิ่ ตน้ ที่ ๑ ชั่วโมง หรือ ๔๕ นาที สลับกับการเดินจงกรม เดินจงกรมก็ใช้เวลาเท่ากันก่อนนะ เดิน นั่ง ๔๕ นาที เดิน ๔๕ นาที นั่ง ๑ ชั่วโมง เดิน ๑ ชั่วโมงสลับกันไป เพื่อความต่อเนื่องของสภาวธรรม ทีนี้ในอิริยาบถย่อย ใน อริ ยิ าบถยอ่ ย เพอื่ ความตอ่ เนอื่ งของสตขิ องเรา อกี อยา่ งหนงึ่ ในอริ ยิ าบถยอ่ ยขณะทเี่ ราขยบั เคลอื่ นไหว หยบิ จับ เคี้ยว ทาน ดื่ม ก็มีสติกาหนดรู้ถึงการเคลื่อนไหวอาการทางกาย ว่าเกิดดับอย่างไร เกิดดับในลักษณะ อย่างไร...สภาพจิต
การดูอิริยาบถย่อย การกาหนดรู้อิริยาบถย่อย ก็ให้กาหนดในลักษณะเดียวกัน คือกาหนดรู้ด้วย ความรู้สึกที่ไม่มีตัวตน ไม่มีความรู้สึกว่าเป็นเรา มีแต่จิตที่ว่าง ที่สงบ ที่ว่าง ๆ สงบ หรือมีความตั้งมั่น มี ความผ่องใส อย่างใดอย่างหนึ่ง เป็นบรรยากาศรองรับในการกาหนดรู้อารมณ์ต่าง ๆ จะทาให้การปฏิบัติ ธรรมของเรา หรือการกาหนดรู้อาการของกาย เวทนา จิต หรือธรรมนั้น กาหนดรู้ด้วยความรู้สึกที่ไม่มีตัว ตน หรือกาหนดรู้อาการของรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ที่ปรากฏเกิดขึ้น กาหนดรู้อย่างไม่มีตัวตน ไม่มีเรา มีแต่จิตที่ว่าง ว่างจากความเป็นเรา มีแต่สติ สมาธิ ปัญญา พิจารณาถึงการเกิดขึ้นตั้งอยู่ดับไป ถึง