Page 73 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การยกจิตขึ้นสู่ความว่าง
P. 73
69
ทรงแยก บอกเราสอนเราแล้วว่า การแยกกายแยกจิต หรือขันธ์ทั้ง ๕ นี่นะ รูปนามนี้ เรียกว่าขันธ์ ๕ ที่ รวมกัน ไม่ใช่ของเราหรอก เขาแยกกัน จิตก็ทาหน้าที่รู้ หูก็ทาหน้าที่ฟัง ตาก็ทาหน้าที่ดู จมูกก็ทาหน้าที่ ดมกลิ่น ลิ้นก็ทาหน้าที่ลิ้มรส เป็นการ...เป็นใหญ่ในตัว จึงเรียกว่า อินทรีย์ อินทรีย์ ๖ คือการทาหน้าที่เป็น ใหญ่ในสถานะของตัวเอง ไม่ใช่เป็นของเรา
ถ้าลิ้นไม่รู้รส แล้วจะเป็นอย่างไร ไม่ได้หรอกนะ มีนะบางคนไม่รู้รสชาติ แต่บางคนนะไวมาก ไวต่อ รสชาติมากเลย แตะนิดเดียวก็รู้หมด อันนี้ดีไม่ดี นี่แหละคือธรรมชาติ ตาก็ต้องเห็น มีตาแล้วเห็นนู่น เห็นนี่ รู้สึก เอ่อ!ดี ถ้ามองไม่เห็นจะเป็นอย่างไร มีตาไม่เห็นก็ไม่สบายใจ รู้สึกขาดอะไร นี่คือธรรมชาติ การที่เราสร้างมาดีแล้ว มีตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ...ครบ แต่ก็เป็นประตู เป็นอุปกรณ์ที่เราจะได้ศึกษาธรรมะ คาสอนขององค์สมเด็จสัมมาสัมพุทธเจ้า เพื่อละ เพื่อคลายอุปาทาน
ทั้ง ๆ ที่ธรรมะที่เราปฏิบัตินี่นะ พิจารณาสภาวะปกติของชีวิตเราเลย เป็นเรื่องปกติของชีวิตของเรา ในชีวิตประจาวัน ไม่ใช่ตอนเราหลับ ชีวิตประจาวันเราเลยว่า อาการที่เกิดขึ้นเป็นแบบนี้ ๆ แต่ให้เรามีสติ วิธีการที่จะรับรู้นี่นะ ด้วยการรับรู้ให้เป็นสัจธรรม ให้เป็นสภาวธรรม ขึ้นอยู่กับเจตนาของเรา และปัญญาที่ จะใช้ เพราะฉะนั้นการที่บอกว่า ลองแยกจิตของเรา แยกจิตกับกายอยู่เรื่อย ๆ ทุก ๆ อาการ ทาซ้า ๆ เวลา เดิน จิตกับอาการเดินเป็นคนละส่วนกัน เป็นคนละส่วนกับเท้าที่เดิน เป็นคนละส่วนกัน จิตกว้างกว่าตัวที่ กาลังเดินอยู่ เดินเข้าไปในที่ว่าง ๆ สังเกตอาการเคลื่อนไหวไป
ทีนี้คาถามก็ถามว่า ถ้าแยกจากกายเราแยกรูปนาม แล้วสบายขนาดนี้แล้ว ต้องทาอะไรต่อไหม ทา ต่อเนอะ! เพราะเราสบายได้แว็บ ๆ แล้วก็ไม่สบาย แสดงว่ามันยังไม่อยู่ตัว เห็นได้แว็บ ๆ ได้ชั่วโมงหนึ่ง แล้วก็มาอีก สามชั่วโมงมีตัวตนเต็ม ๆ บางทีก็สิบนาทีแล้วก็ เอ้า!เดี๋ยวกลับมา แสดงว่าเราทาได้แต่ต้อง ทาต่อเนื่อง ตรงนี้คือความเพียร ใช้งานเขาบ่อย ๆ ทาซ้า ๆ ๆ ๆ ทาซ้า ๆ จนเกิดความชานาญ
ทีนี้การที่เราแยกรูปนาม การสังเกตซ้า ๆ นี่นะ ไม่ใช่แค่ชานาญนะ ไม่ใช่แค่ชานาญในการแยกรูป กับนาม ทาจิตให้ว่าง แต่มันเป็นปัญญาที่เกิดขึ้นมา ไม่ใช่แค่ชานาญแต่เป็นปัญญาที่จะตามมา คือความ เข้าใจ การรู้ชัดถึงธรรมชาติจริง ๆ ว่า เห็นทุกครั้งที่มีความทุกข์ขึ้นมา ก็จะดับทันที ปัญญาเกิดขึ้นมา พอมี ผัสสะขึ้นมา เขาจะทาหน้าที่แยก แล้วก็ทาหน้าที่ใช้จิต แยกจิตกับเวทนากับอารมณ์ แยกกัน ๆ ๆ ทาอย่าง นี้ซ้า ๆ แล้วจิตก็จะอยู่กับว่าง ๆ ๆ กระทบแล้วไม่ทุกข์ กระทบแล้วมีเวทนาก็ดับไป กระทบแล้วไม่ทุกข์ มี เวทนาเกิดขึ้นมาดับไป สนใจแบบนี้
ทีนี้ที่สาคัญก็คือว่า วิปัสสนานี่นะ เรารู้แค่นี้ไม่พอ เพราะอะไรทาไมถึงไม่พอ อันนี้ยังเป็นสภาวะ หยาบ ๆ ทเี่ ลา่ มานขี่ องหยาบนะ ยงั ไมล่ ะเอยี ดเทา่ ไหรห่ รอก พดู แบบหยาบ ๆ หยาบ...ยงั ขนาดนี้ ถา้ ละเอยี ด จะขนาดไหน จะมีวาสนาไปเจอสภาวะละเอียดไหมนี่นะ ธรรมะไม่ต้องอาศัยวาสนาหรอก อาศัยสมาธิ สติ ปัญญา ในการกระทา อาศัยการปฏิบัติ ตรงนั้นแหละ วิธีสร้างวาสนา
วธิ เี พมิ่ วาสนาเรา เพมิ่ บารมเี รา กค็ อื มคี วามเพยี ร พอใจทจี่ ะปฏบิ ตั อิ ยเู่ นอื ง ๆ มสี ตคิ อยกา กบั คอย กา หนดรทู้ กุ ๆ อารมณท์ เี่ กดิ ขนึ้ เดยี๋ ววาสนากจ็ ะงอกขนึ้ มา บารมกี เ็ พมิ่ ขนึ้ ๆ เดยี๋ วกเ็ ตม็ เอง แตถ่ า้ เรานงั่ รอ