Page 95 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การยกจิตขึ้นสู่ความว่าง
P. 95

91
การนั่งสมาธิ เพราะฉะนั้นเราต้องมีหลัก ถ้าเราไม่มีหลักเดี๋ยวเจอสภาวธรรมที่แปลก ๆ ก็จะวิ่งตามเขาหมด ไหลตามไปแล้วกลับมาไม่ถูก กลับมาไม่ถูกว่าจะไปอย่างไรต่อแล้วจะทาอะไร
เพราะฉะนนั้ คา วา่ วปิ สั สนากรรมฐาน โดยหลกั สตปิ ฏั ฐานทงั้ ๔ เรามอี ารมณห์ ลกั มอี ารมณห์ ลกั อยู่ ๔ อย่างที่ต้องตามรู้ เวลาเรานั่งกรรมฐาน เราเดินจงกรม นั่งสมาธิ จริง ๆ ทั้งหมดเวลาเราเจริญกรรมฐาน ทั้งหมด เพราะการเจริญกรรมฐานนั้น เขาเรียกว่ามีสติรู้อยู่กับอิริยาบถทั้ง ๔ อารมณ์ทั้ง ๔ และอิริยาบถทั้ง ๔ อารมณ์ทั้ง ๔ คืออะไร อารมณ์ทั้ง ๔ คือกาย เวทนา จิต และธรรม อารมณ์ทั้ง ๔ อย่างนี้เป็นสิ่งที่เกิดขึ้น และเปน็ สงิ่ ทผี่ ปู้ ฏบิ ตั จิ ะตอ้ งใสใ่ จ เปน็ สงิ่ ทผี่ ปู้ ฏบิ ตั ติ อ้ งใสใ่ จ คา วา่ ใสใ่ จในทนี่ หี้ มายถงึ วา่ การตามกา หนดรู้ ไม่ใช่ใส่ใจแบบไหนดี ใส่ใจว่าอันนี้กาย อันนี้เวทนา อันนี้จิต อันนี้สภาวธรรมนะ ไม่ใช่แค่นั้นอย่างเดียว
แต่หลักการคาว่าวิปัสสนาที่บอกว่าอารมณ์ทั้ง ๔ อิริยาบถทั้ง ๔ แต่คาว่าวิปัสสนา วิปัสสนาคือเป็น วิธีการที่จะพัฒนาปัญญา ให้เห็นด้วยตาของเราเอง ด้วยตาของเราด้วยตาปัญญาของเรา เห็นแจ่มแจ้งด้วย ตัวเอง ไม่ใช่แค่คิดเอา ไม่ใช่ฟังตาม ๆ กันมา แต่เป็นการพิสูจน์และกาหนดรู้ เพราะฉะนั้น ๔ อย่างนี้ หลัก อันนี้เราจะต้องเข้าใจว่า เวลาปฏิบัติยกตัวอย่างนิดหนึ่งนะ อันนี้เป็นขั้นตอน เราฟังเอาไว้เผื่อเอาไว้ ที่เรายก จิตได้ ที่เราแยกรูปนามนั้นถูกแล้ว ทาถูกแล้ว แต่ตรงนี้พูดถึงอารมณ์หลัก อารมณ์หลักที่เกิดขึ้นอย่างที่เรา กาหนดรู้อาการทางกาย
ที่เรียกว่ากายานุปัสสนาสติปัฏฐาน มีสติตามรู้อาการทางกาย อาการทางกายที่เกิดขึ้น ขอแยกนิด หนึ่งว่า อาการทางกายที่เกิดขึ้นเวลาเราน่ังสมาธิ เราน่ังกรรมฐาน เรารู้อะไรบ้าง เราควรจะรู้อะไร อันท่ีจริง แล้วเรารู้อาการทางกายท่ีเกิดข้ึน เวลาเราหายใจเข้า หายใจออกตามปกติธรรมดาเลย ตามปกติธรรมดาท่ี เราน่ังหายใจน่ีแหละ เวลาหายใจตอนท่ีน่ังสมาธิ กับหายใจตอนท่ีอยู่ท่ีบ้านเหมือนกันไหม เหมือนนะ แต่ ว่าอยู่ที่บ้านต่างกันนิดหน่ึง หายใจแล้วเราไม่ค่อยได้สนใจลมหายใจตัวเอง แต่พอมาเจริญกรรมฐานน่ีนะ กลายเป็นว่า นี่คืออารมณ์หลักที่เราจะต้องตามรู้ เป็นอาการทางกาย เขาเรียกเป็นอาการทางกาย
เวลาหายใจเขา้ มสี ตติ ามกา หนดรอู้ าการของลมหายใจเขา้ ไป หายใจออกมามสี ตติ ามกา หนดรอู้ าการ ของลมหายใจออกมา หายใจเขา้ มอี าการลมหายใจมอี าการเปลยี่ นแปลงอยา่ งไร ตรงนตี้ ามรกู้ ารเปลยี่ นแปลง นะ ไมใ่ ชต่ ามรลู้ มหายใจธรรมดาเพอื่ ใหส้ ตทิ นั ลมหายใจตามปกตธิ รรมดา แตว่ า่ มเี จตนาทจี่ ะตามรวู้ า่ เวลา หายใจเขา้ ไป ลมหายใจเขาเปน็ อยา่ งไร เปน็ เสน้ เปน็ คลนื่ เปน็ ฝอยหรอื มอี าการสะดดุ ๆ แลว้ กห็ มดไป หายใจ ออกมา ลมหายใจเปน็ อยา่ งไร เปน็ เสน้ ออกมาอกี หรอื ขาดเปน็ ชว่ ง ๆ แลว้ กห็ ายไป ตรงทเี่ หน็ วา่ เขาเปน็ เสน้ เป็นคลื่นหรือขาดเป็นช่วง อันนี้เขาเรียกว่ากาหนดรู้อาการพระไตรลักษณ์ รู้ความเป็นอนิจจังทุกขังอนัตตา คือรู้การเปลี่ยนแปลง เห็นไหม เรามีเจตนาที่จะรู้ว่าลมหายใจของเราเปลี่ยนแปลงอย่างไร เป็นไปอย่างไร ต่างจากเดิมอย่างไร ไม่ต้องบังคับว่าต้องลมหายใจต้องเท่าเดิมตลอด ไม่ใช่ไปบังคับว่าลมหายใจต้องยาว เท่าเดิมตลอด ไม่ใช่อย่างนั้น
หน้าที่ของผู้ปฏิบัติ คือรู้ให้ชัดว่าลมหายใจเข้าเป็นอย่างไร หายใจออกเป็นอย่างไร ตามรู้ไปจน เขาหมด จนหมดลมหายใจไมใ่ ชจ่ นตายนะ จนลมหายใจเขาหายเกลยี้ งไป หรอื รสู้ กึ วา่ เหมอื นไมไ่ ดห้ ายใจไป


































































































   93   94   95   96   97