Page 96 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การยกจิตขึ้นสู่ความว่าง
P. 96

92
จนหมดไป เขาเรียกจนหมดก็คือจนดับจนส้ินสุด ยกตัวอย่างเช่น พอเราตามรู้ลมหายใจไปสักระยะหนึ่ง เดี๋ยวยาว เดี๋ยวสั้น เดี๋ยวเบา เดี๋ยวสะดุด เดี๋ยวบาง เดี๋ยวจาง ๆ เบา ๆ แล้วก็ลมหายใจก็หายไป ว่างไป หายไป หาลมหายใจไมเ่ จอ อนั นเี้ ขาเรยี กวา่ ตามรจู้ นอาการของลมหายใจหมดไป ตรงนเี้ ขาเรยี กวา่ เปน็ อาการ ทางกายที่เรียกว่ากายานุปัสสนาสติปัฏฐาน
เพราะอาการเหล่านี้เขาเกิดขึ้นเองเราไม่ต้องบังคับไม่ต้องสร้าง และเวลาเราตามรู้ลมหายใจ อาการ ทางกายอย่างอื่นอาจจะไม่ค่อยชัดถ้ามีลมหายใจเด่นนะ ถ้าลมหายใจเด่นอย่างเดียว ตามลมหายใจอย่าง เดียว อันนี้อย่างหนึ่งอาการทางกาย ทีนี้อีกอย่างหนึ่งก็คือว่า อาการทางกายอีกอย่างหนึ่งอย่าง อย่างที่เรารู้ กันว่าเวลาหายใจเข้าท้องพองออก หายใจออกท้องยุบลงที่เรียกว่าอาการพองยุบ ที่พูดถึง ๒ อย่างนี้ เพราะ ว่าคนเราเวลานั่งกรรมฐานแล้วความชัดเจนเขาไม่เท่ากัน ไม่เท่ากันบางคนนั่งแล้วลมหายใจชัด แต่บางคน ไมม่ ลี มหายใจ มแี ตอ่ าการทที่ อ้ งอยา่ งเดยี ว เพราะฉะนนั้ อาการทที่ อ้ งกบั อาการลมหายใจ อาศยั สงิ่ เดยี วกนั คือ ลมหายใจเข้าออกแต่ปรากฏที่กายเรา
เพราะฉะนั้นปรากฏที่กายจึงเรียกว่ากายานุปัสสนาสติปัฏฐาน ปรากฏที่ตัวที่รูปจึงเรียกว่ากายานุ ปัสสนาสติปัฏฐาน จึงต้องกาหนดรู้อาการนั้นไป รู้อาการทางกายที่เกิดขึ้น ตามรู้แบบเดียวกันกับลมหายใจ เวลาพอง เวลายุบ พองออกสุดมีอาการหายไปก่อนไหมหรือว่าเป็นอย่างไร หรือมีอาการสะดุด ๆ มีอาการ กระจายออกไป สังเกตแบบเดียวกัน ตามรู้อย่างเดียวถ้าอาการพองยุบยังมีอยู่ตามรู้ไปเลย ๒ ชั่วโมง ไม่เป็นไร ๒ ชั่วโมงไม่เป็นไร ถ้าได้ ๒ ชั่วโมงเก่งนะ นั่งได้เวลา แต่ว่าได้สติหรือเปล่าต้องพิจารณาให้ดีนะ อีกอย่างหนึ่งอาการทางกาย ที่เรียกว่ากายานุปัสสนาสติปัฏฐาน ก็คืออาการเต้นของหัวใจ สังเกตอาการ กระเพื่อมเวลาเราหายใจ เรานั่งสงบ ๆ หรือที่พูดตรงนี้หมายถึงว่า พอลมหายใจหายไปหรือไม่ชัดเจน อาการพองยุบไม่ชัด แต่รู้สึกอาการเต้นของหัวใจบริเวณหัวใจเรานี่นะชัดขึ้นมา มีอาการกระเพื่อมมีอาการ ตึ้บ ๆ ๆ ขึ้นมานี่นะ ตรงนั้นเขาเรียกอาการทางกาย ให้มีสติตามกาหนดรู้อาการทางกายอันนี้ รู้ต่อไปจน อาการนั้นหมดเหมือนกันเลย
ทา ไมถงึ ตามรจู้ นหมด การทเี่ ราตามรอู้ าการทางกาย อาการทางกายเรยี กอกี อยา่ งหนงึ่ วา่ เปน็ อาการ ของรูป เป็นรูป เพราะฉะนั้นคาว่ารูปไม่เที่ยงเราจะได้เห็นชัดขึ้นว่า คาว่ารูปไม่เที่ยงเป็นทุกข์เป็นอนัตตานั้น เปน็ อยา่ งไร คา วา่ เปน็ ทกุ ขไ์ มใ่ ชว่ า่ เปน็ เวทนาทกุ ขเวทนาอยา่ งเดยี วนะ ไมใ่ ชม่ คี วามปวด อาการเมอื่ ย อาการ คันอย่างเดียว คาว่าทุกข์ที่นี้หมายถึงว่าทุกขลักษณะ เพราะเราปฏิบัติธรรม เราพิจารณาถึงลักษณะของ อาการพระไตรลกั ษณ์ อาการพระไตรลกั ษณค์ อื ทกุ ขลกั ษณะ เกดิ ขนึ้ แลว้ ดบั ไป มแี ลว้ หมดไป มแี ลว้ หายไป ตั้งอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้ เพราะฉะนั้นการตามรู้ลมหายใจ ตามรู้อาการพองยุบ เป็นสิ่งที่เขาเป็นอยู่ตลอด เวลา แล้วเราก็จะเห็นได้ง่ายที่สุด โดยที่ไม่ต้องสร้างไม่ต้องปรุงแต่งขึ้นมา เป็นธรรมชาติที่กาลังประกาศ ตัวเอง เป็นธรรมชาติที่กาลังประกาศตนเองอยู่ว่า เป็นแบบนี้เป็นแบบนี้
เพราะฉะนั้นเราจึงอาศัยธรรมชาติอันนั้นเพื่อการเรียนรู้ เราเรียนรู้กฎไตรลักษณ์ รู้อะไร รู้คาสอน ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่ตรัสว่า รูปไม่เที่ยง เวทนาไม่เที่ยง สัญญาไม่เที่ยง วิญญาณไม่เที่ยง


































































































   94   95   96   97   98