Page 18 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การกำหนดต้นจิตอิริยาบถย่อย
P. 18

136
เรามีเจตนาที่จะ(เลือก)ทาอย่างนี้ได้ ถามว่า ต้องอาศัยอะไร ? ต้องอาศัยปัญญา รู้ว่าต้องทาอย่างไร ทาเพื่อ อะไร ทาแล้วดีอย่างไรไม่ดีอย่างไร ไม่ใช่สักแต่ว่าทาไปอย่างนั้นแหละ เพราะจะได้รู้ว่าการที่เราทาแบบนี้ ทาแล้วจิตเราเป็นอกุศลไหม มีกิเลสไหม หรือว่าทาแล้วจิตผ่องใสขึ้น มีพลังขึ้น ทาแล้วเป็นกุศลมากขึ้น นี่คือการทากุศลที่มีอยู่แล้วให้มีกาลังมากขึ้นนั่นเอง เพราะฉะนั้น ทาได้เป็นระยะ ๆ
แต่เท่าที่สังเกตโยคีใช้น้อยมาก การส่งอารมณ์จะเป็นตัวบอกเลย เวลามาส่งอารมณ์เล่าสภาวะ ทาอะไรบ้าง ? ไม่ค่อยชัด รู้แต่ว่าทาแล้วมันเป็นแบบนี้ แบบนี้... แต่ให้ทาแล้วเป็นอย่างนี้ก็ยังดีนะ ดูอะไร ? ดูไปเรื่อย ๆ ดูอะไร ? ดูทุกอย่างเลยอาจารย์ พยายามดูทุกอย่าง ดูแล้วเป็นยังไง ? ชัดขึ้น อาการชัดขึ้น แล้วจิตเป็นยังไง?ก็ยังเรื่อยๆอยู่อาการชัดขึ้น...แต่จิตยังเรื่อยๆอย!ู่?อันนี้ต้องสังเกตให้ดีนะเรา ซื่อสัตย์กับตัวเองไหม หรือเราสรุปรวม ไม่เป็นขณะ ? ขณะที่อาการต่าง ๆ ชัดขึ้น สภาพจิตเป็นอย่างไร ขณะที่จิตเรื่อย ๆ อาการที่เกิดขึ้นเป็นอย่างไร นี่คือแต่ละขณะเขามีการเปลี่ยนแปลง
บัลลังก์หนึ่ง สมมติว่า ๑๕ นาทีแรก โอ้โห! เห็นอะไรชัดเจน ลมหายใจก็ชัด อาการเกิดดับก็ชัดเจน พอ ๑๕ นาทีหลัง อาการไม่ชัดแล้ว เขาเปลี่ยนเป็นว่าง ๆ เบา ๆ ว่าง ๆ เบา ๆ แล้วสติเป็นยังไง ? นี่คือ คาถาม สติยังดีอยู่ไหมหรือสติเบาไปด้วย ? บางทีโยคีก็เล่า พออาการมันยิ่งเล็กลง ๆ อาการเบาลง สติก็ เบาลง ๆ ลองสงั เกตดู ถา้ สตเิ บาลงจะเหน็ ไหมละ่ ? สตเิ บาลงหมายถงึ วา่ สตอิ อ่ นเลยนะ แตถ่ า้ บอกวา่ ความ รู้สึกมันเบาลง อาการยิ่งบาง จิตยิ่งนิ่งขึ้นและเล็กลงตามไปด้วย ตัวบรรยากาศสภาพจิตเรายิ่งตั้งมั่นขึ้น ตั้งมั่นขึ้น ตื่นตัวขึ้น อันนี้ไม่เรียกว่าสติเบาลงนะ จิตสว่าง รอบ ๆ สว่างขึ้น ๆ ใสขึ้น อาการยิ่งบาง ๆ ๆ ตัว ที่รู้เขาเล็กลง ๆ ไม่เรียกว่าสติเบา อาการเขาเบาลง จิตโล่งขึ้น โปร่งขึ้น เบาขึ้น ไม่เรียกว่าสติเบา
ถ้าสติอ่อนนี่ก็จะเริ่มเบลอ ๆ เลือน ๆ ๆ แล้วก็หลับ อันนั้นคือสติจะอ่อน สติจะเบาไป แต่ถ้าจิต เรายิ่งเบาขึ้น โล่งขึ้น สติยิ่งตื่นตัว ยิ่งผ่องใส ยิ่งชัดเจนขึ้น อันนั้นแหละสติจะมีกาลังมากขึ้น เพราะฉะนั้น สังเกตให้ดีนะ แยกให้ถูก พูดให้ถูก ถ้าเราพูดตรงตามสภาวะที่เป็น เราจะมีความชัดเจนในตัวเองว่าอาการ เป็นแบบนี้ จะมีความมั่นใจ ความลังเลสงสัยต่าง ๆ มันจะหายไป ๆ เพราะเรารู้สึกอย่างนี้จริง ๆ ชัดแบบ นี้จริง ๆ ไม่ใช่ว่า เอ๊! คิดเอาเองไหม ? เพราะฉะนั้น การปฏิบัติจึงให้รู้ชัดในอาการจริง ๆ จะได้ตัดความ สงสัย สังเกตไหม เพราะว่าเราเห็นไม่ชัดความลังเลสงสัยก็จะเกิดขึ้นเสมอ สงสัยอะไร ? บางครั้งเราสงสัย ว่า เอ๊! ทาไมไม่เหมือนที่เราฟังมา ทาไมไม่เหมือนในหนังสือ!?
แลว้ หนงั สอื เขาจะพดู ละเอยี ดเหมอื นตอนทเี่ รา “สงั เกตเอง” ไหม ? บางครงั้ เขาไมไ่ ดพ้ ดู รายละเอยี ด ทั้งหมด แต่เราก็พยายามทาให้เป็นเหมือนในหนังสือ อันนี้จะยุ่งเลยนะ! สภาวะจริง ๆ ที่เกิดขึ้น เหมือนเรา ใช้คาว่า “จิตที่สว่าง” สมมติ(ในหนังสือ)ใช้คาว่า “โอภาส” มีโอภาสเกิดขึ้น มีแสงสว่างเกิดขึ้น... สว่างขนาด ไหนระดับไหน เขาแยกไหมว่าความสว่างขนาดนี้ ความแตกต่างของสติขนาดนี้ ? ไม่บอก แต่พูดรวม ๆ แล้วลองดูสิว่า การแนบกับอารมณ์เป็น “อัปปนา” กับอะไร... อัปปนาอารมณ์ อัปปนาสมาธิ ? “แนบแน่น กับอารมณ์ที่กาลังปรากฏ เกาะติดไป” กับ “แนบแน่นอยู่กับสมาธิ ดิ่งอยู่กับสมาธิอย่างเดียว” เราจะใช้แบบ เดียวกัน หรือ(แยกเป็น)คนละอาการ ? อันนี้ก็ต้องสังเกตดู


































































































   16   17   18   19   20