Page 17 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การกำหนดต้นจิตอิริยาบถย่อย
P. 17

135
บางครงั้ เราไมค่ อ่ ยใหค้ วามสา คญั อริ ยิ าบถยอ่ ยมากนกั เหมอื นกบั เราไมเ่ ขา้ ใจวา่ อริ ยิ าบถยอ่ ยมคี วาม สาคัญพอ ๆ กับอิริยาบถหลัก อิริยาบถย่อยก็เข้าถึงธรรมะได้เช่นกัน ไม่ใช่เฉพาะอิริยาบถหลักอย่างเดียว เราคงเคยไดย้ นิ เรอื่ งของพระอานนทน์ ะ เดนิ จงกรม นงั่ สมาธิ นอนกแ็ ลว้ นงั่ กแ็ ลว้ เดนิ กแ็ ลว้ ... พอจะบรรลุ จริง ๆ กลายเป็นระหว่างอิริยาบถทั้งสี่ ธรรมะไม่จากัดกาลไม่ขึ้นกับเวลา เพราะฉะนั้น ความสาคัญเท่ากัน หมด การเจริญสติจากอิริยาบถหลักไปสู่อิริยาบถย่อย ทาให้สติเราต่อเนื่องเป็นลูกโซ่ไม่ขาดสาย พอสติ ต่อเนื่องเป็นลูกโซ่ไม่ขาดสาย สมาธิก็แก่กล้าขึ้น ยิ่งเราพิจารณาอย่างต่อเนื่องไม่ขาดสาย ปัญญาก็แยบคาย ขึ้น เมื่อไหร่ที่อินทรีย์สมดุลกัน สภาวธรรมที่ปรากฏขึ้นเขาก็จะชัดเจนเองว่าเปลี่ยนไป เปลี่ยนไป เปลี่ยน ไป... เพราะฉะนั้น จึงบอกว่ากาหนดรู้อาการตรงนี้ด้วยความสุข
ทีนี้ การที่เรากาหนดรู้อาการ/อารมณ์ต่าง ๆ ด้วยความสุข เราเอาความรู้สึกว่าเป็นเราออก ทาจิตให้ ว่างได้ เพิ่มความสงบได้ เติมความสุขให้ตัวเองได้ ยกจิตขึ้นสู่ความสุขได้ แค่พอใจที่จะใช้ ง่าย ๆ พอใจที่ จะทา ไหม พอใจทจี่ ะใชไ้ หม ? บางครงั้ เรามที รพั ยม์ ากมาย เปน็ ของดที สี่ ามารถนา มาใชเ้ พอื่ ใหเ้ กดิ ประโยชน์ เกอื้ กลู แกก่ ารปฏบิ ตั ขิ องเรา คอื พลงั ความสงบ พลงั ความสขุ พลงั ความวา่ ง พลงั ความนมิ่ นวล... แตไ่ มค่ อ่ ย ได้ใช้เขา ลองเติมพลังความสุขให้กับจิตเรา แล้วพอใจที่จะรู้ทุก ๆ อาการด้วยจิตที่มีความสุข เมื่อมีความ พอใจที่จะรู้อาการเกิดดับด้วยจิตที่มีความสุข ลองดูว่าจะเป็นยังไง... เดินก็เดินอยู่ในความสุข แล้วกาหนด รู้อาการเกิดดับของการเดินอยู่ในความสุขว่าเป็นยังไง
บางทโี ยคบี อกวา่ ยงิ่ เดนิ มนั ยงิ่ เบา เหยยี บถกู ความนมิ่ นวล ยงิ่ เหยยี บยงิ่ นม่ิ นวล จมเขา้ ไปในความ นิ่มนวล จิตยิ่งสุขขึ้น ๆ บางขณะก็เหยียบไป แข็งโป๊ก ๆ ๆ ๆ จากนิ่มนวลแล้วทาไมแข็ง ๆ อย่างนั้น!? ต้อง กลับมาดูจิตเรา จากที่เคยนุ่มนวล ทาไมเหยียบไปแข็ง ๆ ตึง ๆ ๆ จิตเราเป็นยังไง ? สภาพจิตเปลี่ยน... จิต ยังนุ่มนวลอยู่ไหมหรือจิตเปลี่ยนเป็นนิ่ง ๆ ๆ อย่างเดียว ? นี่คือการดูสภาพจิต ไม่ว่าเขาจะเปลี่ยนอย่างไร ก็ตามให้เราพอใจ จากที่เดินอยู่ในความสุข ทาอะไรอยู่ในความสุขเพลิน ๆ พอกลับมารู้อีกทีหนึ่งความสุข หายไปแลว้ เหลอื แตเ่ งยี บ ๆ วา่ ง ๆ ใหย้ กจติ ใหม่ เตมิ ความสขุ เขา้ ไปใหม่ สขุ อาจจะนอ้ ยกวา่ เดมิ เปน็ ความ สงบมากกว่าความสุข ไม่เป็นไร นั่นยังเป็นจิตที่เป็นกุศลอยู่
วิธีทาให้ความสุขชัดขึ้น ขณะที่ในความสงบมีความสุขเจืออยู่ ให้เน้นไปรู้ที่ความสุข แต่ไม่ใช่ไปดับ ความสุข เข้าไปตรงความสุขที่บาง ๆ ที่เจืออยู่ในความสงบ ลองดู เข้าไป “รู้ถึงความสุข” แล้วก็ไป “ดูจิตที่ ไปรับรู้ถึงความสุขเอง” ว่าเขาสุขด้วยไหม ไปรู้ความสุขแล้วดูจิตที่ไปรู้ถึงความสุข ไปสัมผัสถึงความสุขปึ๊บ จติ ทเี่ ขา้ ไปสมั ผสั ความสขุ เขาสขุ ขนึ้ ดว้ ยหรอื เปลา่ ? นเี่ จตนาเพอื่ ใหค้ วามสขุ เพมิ่ ขนึ้ นงิ่ แลว้ กส็ มั ผสั ถงึ ความ สุข นิ่งแล้วก็สัมผัสถึงความสุข... นิ่งขึ้นเรื่อย ๆ ใส่ใจ นิ่งเพื่อที่จะไปรู้รสชาติของความสุข ความนิ่มนวล ความสบาย นงิ่ เขา้ ไปรู้ นงิ่ ขนึ้ นงิ่ ขนึ้ ... ลองดู ความสขุ เขามพี ลงั ขนึ้ ชดั ขนึ้ ไหม ? นคี่ อื วธิ เี พมิ่ ความสขุ ใหต้ วั เอง
แต่ถ้าเมื่อไหร่จะเข้าไปหา ความสุขบาง ๆ เข้าไป ตูม...หาย ความสุขก็จะหายไป เขาจะเปลี่ยนเป็น ว่างเป็นสงบไปเลยก็มี นี่คืออยู่ที่เจตนา เจตนาตรงนี้คืออะไร ? คือการยกจิตขึ้นสู่อารมณ์อันนั้น แล้วมี เจตนาที่จะไป “รู้อารมณ์นั้นเพื่อความตั้งอยู่” หรือมีเจตนาที่จะไป “รู้อาการดับของอารมณ์อันนั้น” ? การที่


































































































   15   16   17   18   19