Page 39 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การกำหนดต้นจิตอิริยาบถย่อย
P. 39
157
แต่ทีนี้ว่า การกาหนดต้นจิต ไม่ใช่แค่เพื่อที่จะรู้ทันต้นจิต เราต้องรู้ถึงอานิสงส์ประโยชน์ของการ กาหนดต้นจิตว่า เมื่อมีเจตนากาหนดรู้ต้นจิตมากขึ้น สิ่งที่ตามมาคืออะไร อันนี้สาคัญมาก ๆ นะ เพราะเรา จะมีความรู้สึกว่า วันนี้กาหนดต้นจิตไม่ได้เลย วันนี้ทั้งวันพอกาหนดต้นจิตได้ ๑๐ ครั้ง เคลื่อนไหวพันครั้ง กา หนดจติ ไดส้ บิ ครงั้ เยอะมากนะ วนั นกี้ า หนดตน้ จติ ไดท้ งั้ วนั เลย กา หนดตน้ จติ ไดท้ งั้ วนั ...รอ้ ยเปอรเ์ ซน็ ต์ โห!ยิ่งเก่งใหญ่เลย เหมือนจิตทางานเอง พอจะขยับก็รู้ ขยับก็รู้ ขยับก็รู้ รู้สึกอย่างไรตรงนี้ ทีนี้การกาหนด ต้นจิต ลองนิดหนึ่งนะ ทาจิตให้ว่าง ๆ ทาจิตให้ว่าง ๆ ทาจิตให้ว่างให้เบา แล้วสังเกตที่จิตเรา ลองดูนะว่า เวลาจะลองกระดิกนิ้วดู เวลาจะกระดิกนิ้ว ก่อนที่จะกระดิกนิ้วนิดหนึ่งนี่นะ สังเกตจิตเรา พอจะกระดิกนิ้ว นี่นะ รู้สึกก่อนไหม นิดหนึ่งก่อนที่จะขยับ นิดหนึ่งรู้สึกไหม อ้า!รู้สึกนะ
แลว้ กอ่ นทจี่ ะพยกั หนา้ เมอื่ กนี้ ี้ รสู้ กึ ไหมมนั สงั่ ใหพ้ ยกั หนา้ ลมื สงั เกตอกี นะ นคี่ อื จดุ ทคี่ วามตอ่ เนอื่ ง ของการสังเกตต้นจิต และอีกอย่างหนึ่งว่า ลองสังเกตซ้า เวลาเราตั้งใจสังเกตอาการของต้นจิต สติเรารู้สึก เป็นอย่างไร จิตเราตั้งมั่นขึ้นไหม จิตต้องนิ่งตั้งมั่นขึ้น แล้วจะมีความชัดเจนในอารมณ์ เวลาเราจะขยับรู้สึก ชัดว่า รู้สึกก่อนขยับปุ๊บนี่นะรู้สึกปุ๊บวืดไป อาการขยับ ลองดูนะ พอเห็นต้นจิตตามด้วยอาการ เห็นต้นจิต สงั เกตจติ สงั่ รสู้ กึ ปบุ๊ อาการเคลอื่ นไปนน่ี ะ พอสงั เกตอาการตอ่ อาการเคลอื่ นอาการขยบั นนั้ มคี วามชดั เจน มากกว่าเดิม มีความคมชัดมากขึ้นหรือเท่าเดิม อาการเคลื่อนไหว...รู้สึกไหมว่าเป็นอย่างไร ชัดขึ้นนะ ตรง นี้แหละการกาหนดต้นจิต ทาให้การกระทาของเรา การขยับการเคลื่อนไหวประกอบด้วยสติสัมปชัญญะ
ตอ่ อกี นดิ หนงึ่ นะ พอมสี ตสิ มั ปชญั ญะ จติ ใจรสู้ กึ มคี วามตงั้ มนั่ ขนึ้ นงิ่ ขนึ้ มคี วามชดั เจนในอารมณ์ ขึ้นมา ลองสังเกตต่อว่า ก่อนที่เราจะหันแต่ละครั้ง ก่อนที่จะหัน ก่อนที่จะขยับ สังเกตไหมว่า ก่อนที่จะขยับ ก่อนที่จะหัน พอสังเกตต้นจิตปุ๊บนี่นะ เวลาจะหันแต่ละที เห็นไหมว่า เขาจะหันไปทาไม หรือทาไมต้องหัน ลองสังเกตดู นี่คือตัวสาคัญว่า การกาหนดต้นจิต จะทาให้เราเห็นเจตนาของตัวเอง เจตนาในการกระทา ใน การขยบั ในการเคลอื่ นไหวในแตล่ ะขณะ นคี่ อื เปน็ ความละเอยี ด เปน็ ความสา คญั ทสี่ ดุ เลยวา่ ทา ไมเราตอ้ ง กาหนดต้นจิต บางครั้งนี่นะ ไม่เห็นอาการเกิดดับ ไม่เห็นการเกิดดับของอาการ แต่ที่ชัดก็คือว่า เราจะรู้เลย ว า่ ก า ร ก ร ะ ท า ท กุ อ ย า่ ง ก า ร เ ค ล อื ่ น ไ ห ว ข อ ง เ ร า ป ร ะ ก อ บ ด ว้ ย เ จ ต น า เ พ ร า ะ เ จ ต น า ป ร ะ ก อ บ ด ว้ ย ส ต สิ มั ป ช ญั ญ ะ มสี ตสิ มั ปชญั ญะรชู้ ดั ถงึ อาการทเี่ กดิ ขนึ้ พอตรงนเี้ หน็ ชดั ขนึ้ มา ทา ใหส้ ตสิ มาธปิ ญั ญาแกก่ ลา้ มากขนึ้ เรอื่ ย ๆ มีความชัดเจนในสภาวธรรมที่เกิดขึ้น ในอารมณ์ที่เกิดขึ้น ทาให้เราเป็นคนละเอียดขึ้น รู้จักตัวเองมากขึ้น ด้วยเช่นเดียวกัน
ดงั นนั้ อริ ยิ าบถยอ่ ย เขาเรยี กตน้ จติ อริ ยิ าบถยอ่ ย เปน็ สงิ่ สา คญั มาก ๆ ปกตแิ ลว้ ทบี่ อกวา่ การกา หนด ต้นจิตอิริยาบถย่อยมีอยู่ ๓ อย่างที่ควรใส่ใจ หนึ่ง...สภาพจิต คือบรรยากาศของสภาพจิตใจ รู้สึกสงบ รู้สึก เบา ใส มนั่ คง ตงั้ มนั่ ตนื่ ตวั อยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ ใหร้ วู้ า่ ในอริ ยิ าบถยอ่ ยตรงนนั้ เราเคลอื่ นไหวดว้ ยสภาพจติ ใจ ขณะนั้นเป็นอย่างไร เคลื่อนไหวด้วยความสงบความตื่นตัวความตั้งมั่น อาการเคลื่อนไหวตรงนี้คือดูสภาพ จิตแล้วก็ สอง...สังเกตต้นจิตรู้ก่อนขยับ รู้ก่อนเคลื่อนไหว จากนั้นต่อด้วย สาม...คือ อาการ ทั้งสภาพจิต ต้นจิต และอิริยาบถย่อย อาการของอิริยาบถย่อยตรงนี้ ถ้ามี ๓ อย่างนี้ไปด้วยกันนะ มีบรรยากาศตรงนี้ ทา ใหอ้ าการของตน้ จติ อริ ยิ าบถยอ่ ย อาการเกดิ ดบั ตรงนมี้ คี วามชดั เจนมากขนึ้ ๆ การกา หนดตน้ จติ ตอ้ งทา