Page 40 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การกำหนดต้นจิตอิริยาบถย่อย
P. 40

158
ทุกวัน ทุก ๆ อาการที่เกิดขึ้น ไม่ใช่กาหนดแค่วันเดียวนะ ไม่ใช่ว่ากาหนดวันนี้ได้ กาหนดวันนี้ไม่ได้ จริง ๆ แล้วให้พอใจที่จะกาหนด พอใจที่จะกาหนดรู้อาการของต้นจิตในทุก ๆ อิริยาบถ ตรงนี้ต้องใช้ เพราะนี่คือ เป็นตัวเกื้อกูล เป็นตัวพัฒนาสติสมาธิปัญญาให้แก่กล้าขึ้น ให้แยบคายมากขึ้น ให้ละเอียดมากขึ้น
เพราะสภาวธรรมที่ละเอียด เป็นเหตุให้เราต้องตั้งใจมากขึ้น ตั้งใจมากขึ้น สมาธิก็เพิ่มขึ้น ใส่ใจ มากขึ้น สังเกตมากขึ้น ปัญญาก็แยบคายขึ้นเช่นเดียวกัน เป็นอาการทางกายของเรา ทาไปเพื่ออะไร เพื่อ ประโยชน์ของเราเอง เพื่อเป็นการพัฒนาสติสมาธิปัญญาให้แก่กล้าขึ้น ใหม่ ๆ อาจจะหลุดบ้าง บางทีโยคี จะเปน็ ลกั ษณะอยา่ งนี้ พอใหก้ า หนดตน้ จติ อริ ยิ าบถยอ่ ยปบุ๊ พอกา หนดไปสกั ระยะ จะเรมิ่ เหน็ วา่ ตวั เองเปน็ คนสติอ่อน หลุดบ่อยไม่ต่อเนื่อง พอจะกาหนดไปสักพักลืมแล้ว กาหนดไปสักพักลืมแล้ว หลุดแล้ว หาย แล้ว เมื่อก่อนเหมือนเคยกาหนดมีสติรู้ว่าอาการ รู้ ๆ ๆ ตั้งใจมาก ๆ เดี๋ยวหลุด ๆ เหมือนตั้งใจมาก ๆ ทาไมลืมง่าย
จริง ๆ แล้ว สังเกตไหมว่า ตอนที่ไม่ตั้งใจดูทาไมไม่หลุด หรือว่าหลุดไปโดยที่ไม่รู้ตัว มันมีอาการ รับรู้ระยะห่าง แต่รู้สึกเหมือนตัวเองรู้ตัวตลอดเวลา แต่พอสนใจรายละเอียดมากขึ้น เริ่มเห็นว่าเดี๋ยวหลุด เดี๋ยวลืม อ้าว!ดูไปสักพักเดี๋ยวหลุดไป ไปเรื่องอื่นแว็บ มีอารมณ์อื่นแทรกเข้ามาเป็นระยะ ๆ ยิ่งสติดีขึ้น จงึ เหน็ ชอ่ งวา่ งระหวา่ งอารมณ์ ชอ่ งวา่ งระหวา่ งความตอ่ เนอื่ งของสตเิ รา เวลาเขาจะหลดุ บางทตี อ่ เนอื่ งไป ๑๐ นาทีปุ๊บ เดี๋ยวเขาจะหายไป ๒ นาที กลับมาต่อเนื่องอีก ๑๕ นาที หายไปอีก ๓ นาที ต่อเนื่องอีก อ้าว!หลุด เป็นระยะ ๆ ถ้าเมื่อไหร่ที่เราสังเกตเห็นว่าเราหลุดได้ แสดงว่าสติเริ่มดีขึ้นแล้ว สติเริ่มดีขึ้นแล้ว จงปลอบ ใจตัวเอง ถึงแม้มันอาจจะหลุดจริง ๆ หลุดจริงนั่นแหละ ต้องอ๋อ!เรารู้ทันมันจะหลุดอีกแล้ว เราก็ระวังขึ้น
กาลังเดิน ๆ จงกรม เดี๋ยวจะหลุดอีกแล้ว จะหลุดอีกแล้ว สติไวขึ้น ต่อไปตรงนี้เราพอใจที่จะเริ่ม ใหม่ หลุดเมื่อไหร่เริ่มใหม่ รู้สึกตัวสังเกตต่อ รู้สึกตัวสังเกต ทาซ้า ๆ ต่อไปจะกลายเป็นต่อเนื่องกันเป็น ลูกโซ่ ต่อเนื่องเป็นลูกโซ่เอง แล้วกาหนดอย่างนี้ต่อเนื่องสติสมาธิมีกาลังมากขึ้นปุ๊บ จะเป็นอย่างที่บอก เมื่อกี้นี้ว่า เดี๋ยวนี้ไม่ต้องพยายามแล้วนะ พอจะขยับมันก็รู้ กะพริบตาก็รู้ จะหันซ้ายก็รู้ จะลุกก็รู้จะนั่งก็รู้ รู้หมดเลยเหมือนกับจิตเขาทางานเอง
มีโยมคนหนึ่งนี่นะ จากที่เขาเคยกาหนดนั่งเข้าฌานนาน ๆ นั่งเข้าฌาน นั่งแล้วก็นานทั้งคืน พอ เพิ่มสติ บอกให้เพิ่มสติดูจิตปุ๊บ จากที่นั่งหลับเงียบ พอตื่นขึ้นมาอิริยาบถย่อยนี่นะ เขาบอกสติไวขึ้นเยอะ พอเพิ่มต้นจิตจะขยับก็รู้ จะกะพริบตาก็รู้ รู้ไปหมดเลย จนรู้สึกเบื่อตัวเองทาไมรู้เยอะขนาดนั้น เพราะเคย สงบมาตลอด เคยอยู่เงียบ ๆ เคยนิ่ง พอสติไวขึ้นทางานจะขยับ จะกะพริบ จะกระดิกนิ้วอะไรรู้หมด หัน ซ้ายหันขวารู้ทันหมด กลับรู้สึกราคาญตัวเองมันรู้มากเกิน อันที่จริงแล้วนั่นคือความไม่เข้าใจ เพราะสมาธิ มีอยู่แล้ว พอสติสมดุล สติกับสมาธิสมดุลกัน จิตจะสั่งงานทางานรวดเร็วและรู้เท่าทันอารมณ์ รู้อารมณ์ ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น แต่เขาลืมว่าการรู้เท่าทันอารมณ์ ไม่จาเป็นต้องคล้อยตามอารมณ์ การรู้เท่าทันอารมณ์ ไม่ ได้หมายความว่าเราต้องยึดอารมณ์อันนั้น รู้ทันทุก ๆ อารมณ์ไม่ใช่ว่าเราต้องไปแบกอารมณ์เหล่านั้น แค่รู้ ว่ารู้แล้วก็ดับ รู้แล้วก็ดับ ๆ เรามาดูสภาพจิต จิตที่ประกอบด้วยสติสัมปชัญญะที่แก่กล้านี้เป็นอย่างไร จิต ที่สติสัมปชัญญะแก่กล้า ผ่องใสหรือขุ่นมัว สลัวหรือเบิกบาน


































































































   38   39   40   41   42