Page 44 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การกำหนดต้นจิตอิริยาบถย่อย
P. 44

162
เพราะฉะนั้นเรายกเท้าช้า ๆ ที่สังเกตไหมว่าทาไมครูบาอาจารย์ จึงเริ่มต้นด้วยการให้เราเดินช้า ๆ เพื่อที่จะสังเกตสติตามรู้ทันเกาะติดกับอาการ นี่คือการวางตาแหน่งของสติ ให้อยู่ที่เดียวกับอาการ แต่ลอง นดิ หนงึ่ ถา้ สตเิ ราอยขู่ า้ งบนอาการแบบนี้ แลว้ ลองดวู า่ เคลอื่ นไปรสู้ กึ เปน็ อยา่ งไร...ตา่ งกนั ไหม จติ อยทู่ เี่ ดยี ว กบั อาการ กบั อยหู่ า่ งจากอาการรสู้ กึ อนั ไหนชดั กวา่ กนั ...อยทู่ เี่ ดยี วกบั อาการ นคี่ อื การกา หนดไดป้ จั จบุ นั ที่ ถามอย่างนี้ไม่ใช่อะไรหรอก ให้เราได้สังเกตว่า เวลากาหนดอารมณ์ ทาไมอาการถึงชัดหรือไม่ชัด เพราะเรา จะได้รู้ว่าสติอยู่ที่เดียวกับอาการไหม กาหนดได้ปัจจุบันไหม ไม่ใช่ว่าเราทาไม่ได้นะ แต่การสังเกตของเรา ไม่แยบคาย ใหม่ ๆ สติอยู่ที่เดียวกับอาการรู้ทัน สักพัก พออาการละเอียดขึ้นปุ๊บ กลายเป็นผู้ดูถอยออก มาเป็นผู้ดู ทาไมถึงถอยออกมาเป็นผู้ดู ธรรมชาติของจิตเป็นแบบนี้
อย่างหนึ่งก็คือว่า ถ้าตอนที่เรากาหนดรู้อารมณ์ต่อเนื่อง อาการยังชัดอยู่ยังหยาบ กาลังของสติ ขนาดนี้ก็จะเกาะติดทันตลอดเวลา พอสภาวะเริ่มละเอียดขึ้น เริ่มบาง ๆ เขาเบาไปละเอียดขึ้นปื๊บ จะหา อาการไม่เจอ โยคีเคยเห็นว่าหาอาการไม่เจอแล้วทาอย่างไรดี ก็กลายเป็นผู้ดูคอยหา ตรงนี้เขาถอยจาก อารมณ์ ถอยจากอารมณ์ปุ๊บ ต้องรออารมณ์ใหม่อาการใหม่เกิดขึ้นมา ถึงจะเข้าไปใหม่ เข้าไปกาหนดรู้ใหม่ นี่ก็เหมือนกัน อาการเดิน เพราะฉะนั้นเวลาเดินจงกรม ให้มีสติจดจ่อนิดหนึ่ง คือให้อยู่ที่เดียวกับอาการ
ทนี คี้ า ถามกค็ อื วา่ ถา้ สตอิ ยทู่ เี่ ดยี วกบั อาการ เราเปน็ การจอ้ งไหม รสู้ กึ ตอนนี้ ถา้ รสู้ กึ เลยรสู้ กึ วา่ ตอ้ ง จ้องอาการหรือรู้สึกทันที เห็นไหมถ้าห่างปุ๊บเราจะเป็น ถ้าห่างจากอารมณ์ กลายเป็นผู้ดูแล้วจะมีอาการจ้อง แตถ่ า้ รสู้ กึ อยทู่ เี่ ดยี วกนั จะไมม่ ผี จู้ อ้ งหรอื ผดู้ ู มแี ตค่ วามรสู้ กึ ทรี่ อู้ ยทู่ เี่ ดยี วกบั อาการทเี่ ปน็ ไป ตรงนแี้ หละแก้ ปัญหาว่า เราจะเพ่งจะจ้องมากไปไหม จริง ๆ แล้วคือใส่ใจในอาการ สังเกตอาการอยู่ที่เดียวกับอาการจะ ไม่จ้อง พอไม่จ้องแล้วจะไม่ปวดตา พอไม่จ้องแล้วจะไม่มีอาการเคร่งตึง มันจะมีแต่ความสงบ มีความตั้ง มั่นขึ้น อาการเคร่งตึงน้อยลง จะไม่ค่อยเคร่งตึงเท่าไหร่ ตรงนี้แหละ วิธีการกาหนดในอิริยาบถย่อย
แลว้ อกี จดุ หนงึ่ ทมี่ ปี ญั หากค็ อื วา่ เวลากา หนดอารมณป์ จั จบุ นั เยอะ ๆ นนี่ ะ มสี ตติ ามรไู้ หม ไมว่ า่ จะ ตามรู้ลมหายใจหรือพองยุบก็ตาม ตามรู้มาก ๆ ตามรู้ต่อเนื่องไป จะรู้สึกมีอาการเคร่งตึงขึ้นมา ตึงบริเวณ ไหน ส่วนใหญ่ตึงบริเวณไหน ที่คอหรือที่หน้าผาก บริเวณหัวใจ ตรงนี้ไม่ได้เรียกว่าตึงแล้ว เรียกว่าอึดอัด แล้ว...ใช่ไหม เอ่อ!เรียกว่าอึดอัดหรือเรียกว่าตึง อึดอัด เอ่อ!ต้องเรียกให้ถูก จะได้แก้ปัญหาได้ถูก เวลาเรา ตามมาก ๆ แล้วทาไมอึดอัด จริง ๆ นี่นะ อาการอึดอัดนี่นะหลาย ๆ คน ผู้ปฏิบัติมักจะเจอ เพราะว่าเวลา ตามอารมณ์ปัจจุบันอย่างที่บอกแล้ว พออาการลมหายใจเริ่มพองยุบเขาสั้นลง ๆ ๆ นี่นะ เล็กลง สั้นลง หรือเร็วขึ้น เราก็เริ่มกลั้นหายใจ นิ่ง ๆ ๆ เรานิ่งตามอาการ ตอนนั้นกลั้นหายใจโดยปริยาย โดยที่ไม่รู้ตัว พอหยุดปุ๊บถอนหายใจเฮือกขึ้นมา รู้สึกถอนหายใจค่อยยังชั่วหน่อย เกือบขาดใจใช่ไหม จะเป็นอย่างนั้น
ทีนี้ถ้าเราแนบกับอาการ ถ้าความรู้สึกแนบกับอาการอยู่แบบนี้ เห็นว่าเขาดับ ดับแล้วว่าง ดับแล้ว เบานี่นะ อาการนั้นจะไม่เป็น แต่ที่เราเพ่งอย่างหนึ่งที่บอกว่า เวลาให้รู้อาการให้ใส่ใจที่อาการมาก ๆ โยคีมัก จะถามว่า ให้สังเกตรายละเอียดปุ๊บ จะรู้ว่าจะเป็นการจ้องไหม...อาจารย์ ถ้าเราใส่ใจรายละเอียดมาก ๆ จะ เป็นการจ้องไหม คาถามนี้เพราะอะไร เพราะขยาด แสดงว่าเคยจ้องแล้วรู้สึกไม่ค่อยดี จ้องอาการแล้วมัน


































































































   42   43   44   45   46