Page 46 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การกำหนดต้นจิตอิริยาบถย่อย
P. 46

164
ควรทา อยา่ งไรไมใ่ ชป่ ฏเิ สธความวา่ ง ควรจดั การอยา่ งไร แกอ้ ยา่ งไรตอ่ ไป อนั นคี้ อื การปรบั อนิ ทรยี ์ เปน็ การ เพิ่มปัญญาของเรา
เพราะฉะนนั้ การทเี่ รากา หนดวปิ สั สนานนี่ ะ การทเี่ ราใสใ่ จพจิ ารณาอาการเกดิ ดบั ของทกุ ๆ อารมณ์ ต ร ง น ี ้ ป ญั ญ า ก เ็ ก ดิ ข นึ ้ ม า ก า ร ท กี ่ า ห น ด อ า ก า ร เ ป ล ยี ่ น แ ป ล ง ก า ร ท จี ่ ะ ต ดิ ใ น อ า ร ม ณ ใ์ ด อ า ร ม ณ ห์ น งึ ่ จ ะ น อ้ ย ล ง เขาอยู่ไม่นาน พอเริ่มที่จะหลงไปยึดปึ๊บ เดี๋ยวเขาก็ไม่เที่ยง ได้เห็นความไม่เที่ยงแล้ว แต่จิตที่ดีแล้วน้อม มาใส่ตัวบ่อย ๆ เพื่อให้เกิดกาลัง เพื่อให้สติสมาธิมีกาลัง แล้วเอาจิตที่มีกาลังแล้วมาพิจารณาสภาวธรรม ต่อไป รู้อาการพระไตรลักษณ์ รู้อาการเกิดดับของรูปนามต่อไปเพื่อการพัฒนา เดินทางต่อไปเพื่อถึงที่สุด แห่งทุกข์ เพื่อการดับทุกข์อย่างสิ้นเชิง อันนี้พิสูจน์ด้วยตัวเองนะ ทาด้วยตัวเอง พิจารณาให้ชัดต่อเนื่องไป สงสัยก็ถามครูบาอาจารย์ ว่าเป็นอย่างไร ควรจะทาอย่างไรต่อ แก้อย่างไรต่อไป นั่นแหละคือหน้าที่ของเรา
ปฏบิ ตั ติ อ่ ไปใสใ่ จพจิ ารณาใหช้ ดั ในสภาวธรรมทเี่ กดิ ขนึ้ เพอื่ ความเจรญิ ความกา้ วหนา้ ยงิ่ ๆ ขนึ้ ไป เพราะฉะนั้น คาถามว่าการที่เรากาหนดต้นจิตอิริยาบถย่อยหรือการเกิดจงกรมนั้น สติจะอยู่ที่ไหน จิตควร จะอยู่ที่ไหน ให้ทาแบบนั้น ถ้ามีบรรยากาศรองรับแล้วคือทาจิตให้ว่างแล้ว สติจะต้องอยู่ที่เดียวกับอาการ ใสใ่ จอาการทเี่ กดิ ขนึ้ ทเี่ ปน็ ปจั จบุ นั ใหช้ ดั เจน มคี วามสนใจอาการใหต้ อ่ เนอื่ ง ไมว่ า่ อาการอะไรปรากฏชดั เชน่ อิริยาบถย่อย ให้เลือกทีละอย่างทีละอาการก็ได้ ไม่จาเป็นต้องได้ทุกอย่างในขณะเดียวกัน ในเวลาเดียวกัน หรือในบัลลังก์เดียวกัน อย่างเช่น จะใช้แบบว่าวันนี้จะกาหนดอาการขยับมือในอิริยาบถย่อยให้มาก อาการ อนื่ วางไวก้ อ่ น เนน้ ทกี่ ารเคลอื่ นไหว พอสตไิ มท่ นั การเคลอ่ื นไหว การขยบั มอื ของตวั เอง บางทมี อื ไปแลว้ จติ ถึงรู้แบบนี้ ก็ตั้งใจที่จะกาหนดรู้แบบนี้
โดยเฉพาะเวลาตักอาหาร จิตยังไม่สั่งเลย แว็บไปโน่น แว็บไปนี่ แว็บไปโน่น แว็บไปนี่ ต้องสังเกต นิดหนึ่งว่า ตอนนี้เราจะสังเกตอาการนี้ พอการเคลื่อนไหวมือได้ ค่อยสังเกตขยับไปอีกอาการหนึ่ง ปรับ เป็นขณะ ๆ แบบนี้ ต่อไปพอจิตตั้งมั่นมีกาลังมากขึ้นก็จะทันเอง แล้วที่สาคัญก็คือว่า การกาหนดต้นจิต อิริยาบถย่อย หนึ่ง...เริ่มต้นด้วยสภาพจิต การทาจิตให้ว่าง ให้กว้างกว่าตัว แล้ว สอง...สังเกตต้นจิตก่อน ที่จะขยับ ก่อนเคลื่อนไหว ต่อไป สาม...กาหนดอาการให้ต่อเนื่องกัน ไม่ใช่ต้นจิตอย่างเดียว กาหนดต้นจิต แลว้ ตอ่ ดว้ ยอาการ ตน้ จติ สงั่ ใหอ้ าการอะไรขยบั สงั เกตอาการนนั้ ตอ่ ตรงนจี้ ะทา ใหจ้ ติ เราตงั้ มนั่ สมาธมิ กี า ลงั มากขึ้น แต่ถ้าระวังแค่ต้นจิตอย่างเดียว เดี๋ยวสั่ง ๆ ๆ อันนี้จะไม่ทันก็จะช้า สติเรายังช้าอยู่ถ้ารู้แบบนั้น เดี๋ยวก็ไม่ทันต้นจิต ให้เริ่มจากต้นจิตตามด้วยอาการ ต้นจิตตามด้วยอาการ อาการนี้จบ อาการใหม่ขึ้นมา จิตสั่งก่อนไหม...จิตสั่ง รู้สึกไหมว่า จิตสั่งก่อนหรือเปล่า ถ้ารู้สึกก่อนปุ๊บอาการนี้ชัดอาการนี้ดับจบ พอจะ ขยับใหม่ต้นจิตสั่งก่อนอีกไหม ต้นจิตสั่งก่อนอีก สังเกตแบบนี้ สติเราจะมีความตั้งมั่นขึ้น สมาธิตั้งมั่นขึ้น จิตจะตื่นตัว สติจะค่อย ๆ เร็วขึ้น แก่กล้าขึ้น ให้เริ่มทีละอย่างแบบนี้ แล้วจะกาหนดทัน
ต่อจากนั้นเดี๋ยวเขาจะพัฒนาไปตามความเพียรของเรา ให้กาหนดในลักษณะอย่างนั้น ทีนี้การเดิน จงกรม ที่เพิ่มที่ทาให้จิตว่าง ที่ยกจิตทาจิตว่าง ๆ เดินในที่ว่าง ๆ อันที่จริงก็คือว่า พอเราทาจิตให้ว่างกว้าง กว่าตัวนี่นะ ก็จะเพิกบัญญัติได้ง่าย ความเป็นรูปร่างของตัว ความเป็นรูปร่างของเท้านี่นะจะเบาบาง หรือ


































































































   44   45   46   47   48