Page 57 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การกำหนดต้นจิตอิริยาบถย่อย
P. 57

175
ไม่เข้าปากเรียบร้อย คงไม่รู้รสหรอก ถูกปากแต่ไม่ถูกใจ แต่พอเราบอกว่าถูกปากก็คือถูกใจ เห็นไหม พอถกู ปาก ถกู ใจ เขาเรยี ก ถกู ปาก...รส ลน้ิ ...อรอ่ ย แตร่ สชาตแิ บบน้ี การกา หนด เวลากา หนดรู้ การสงั เกต รสชาติอย่างหน่ึง เอาจิตท่ีว่าง ๆ ไปไว้ในช่องปาก
ลองดูนะ เอาจิตท่ีว่างเข้าไว้ในช่องปากถึงคอเลย เวลาเรากลืน เวลาเราขยับ ลองดูว่าเวลาเราเคี้ยว ขยับ อาการขยับ อาการกระทบกันระหว่างฟัน กระทบอยู่ในที่ว่าง ๆ หรือเปล่า อันน้ีอย่างหน่ึง การกระทบ ขณะทม่ี คี วามวา่ งอยใู่ นชอ่ งปาก จะเหลอื แตอ่ าการขยบั ฟนั เคยี้ ว โดยทเี่ คย้ี วกระทบกนั กระทบอยใู่ นทว่ี า่ ง ๆ ไม่มีรูปร่างของปาก ไม่มีรูปร่างของฟัน เหลือแต่ลักษณะของอาการ ผัสสะกระทบกัน กระทบแล้วดับ ๆ กระทบเปน็ แถบยาว หรอื แคเ่ ปน็ จดุ เดยี ว อนั นตี้ อ้ งสงั เกต กระทบปบุ๊ ดบั ปบุ๊ ดบั เวลากระทบ กระทบแลว้ ดบั
สังเกตว่า ถ้าเอาจิตไปไว้ที่จุดกระทบระหว่างฟัน ที่เรากระทบตรงนี้ เอาจิตไปอยู่ตรงกลาง กระทบ ปุ๊บ เคี้ยวถูกจิตตัวเองด้วยไหม อันนี้ละเอียดขึ้นนะ ถ้าเคี้ยวถูกจิตแล้วเป็นอย่างไร เปลี่ยนใหม่...เอาจิตที่ สขุ เอาจติ ทมี่ คี วามสขุ ไปไวท้ จี่ ดุ กระทบ เวลาเคยี้ ว เคยี้ วถกู ความสขุ ดว้ ยหรอื เปลา่ ขยบั ปากเคยี้ วถกู ความ สุขไหม พอเคี้ยวถูกความสุข ลองดู กลืนความสุขลงไป กลืนเอาความสุขลงไปที่ตัวเรานี่นะ เคี้ยวแล้วกลืน ความสุขลงไปในตัว ลองดูว่าใจรู้สึกเป็นอย่างไร อิ่มใช่ไหม เอ่อ! จะได้อิ่มสุข ไม่ใช่แค่อิ่มแค่อาหาร
ตรงนี้ อาหารคือคาข้าว แต่ความสุขคือวิญญาณาหาร เห็นไหม วิญญาณาหาร เป็นอาหารของจิต ทาให้จิตมีพลัง มีความอิ่ม มีความสุข มีความตั้งมั่นขึ้น มีความเต็ม เพราะฉะนั้น การท่ีเอาจิตที่ว่าง ๆ มา ไว้ที่ปาก อันนี้อย่างหนึ่งนะ เมื่อก้ีนี้อาจารย์พูดลัดขั้นตอนไป คือรู้อาการเกิดดับของการเคี้ยวอย่างหนึ่ง และพอมีผัสสะมีรสขึ้นมา มีรสหวาน รสเปรี้ยว รสเค็ม รสเผ็ดขึ้นมา เข้าไปรู้ว่าอาการความเปรี้ยว หวาน เค็ม มัน เผ็ด ขึ้นมา เขาดับอย่างไร มีอาการเกิดดับอยู่ในที่ว่าง ๆ ไหม ตรงนี้อย่างหนึ่ง
แลว้ กร็ วมกนั หรอื จะเปน็ ทลี ะจดุ ขมอยตู่ รงนี้ หวานอยตู่ รงนี้ หวานอยทู่ ไี่ หน ขมอยทู่ ไี่ หน สว่ นใหญ่ ของขมหรอื ขมคอนะ เพราะฉะนนั้ ความลบั ของรสขม อยทู่ คี่ อหรอื เปลา่ อยทู่ โี่ คนลนิ้ หรอื เปลา่ ความหวาน ทา ไมอยทู่ ปี่ ลายลนิ้ เหน็ ไหม เราสงั เกตหวานอยทู่ ไี่ หน แตถ่ า้ หวานมาก ๆ อมตลอดเวลา ความหวานรสชาติ เที่ยงหรือไม่เที่ยง นี่คือสังเกตความไม่เที่ยงของรส รสชาติ ลองดู ถ้าเราสังเกตที่รสชาติ ถึงอาการเกิดดับ แบบนี้อยู่เรื่อย ๆ ความยินดีพอใจในรสนั้นเป็นอย่างไร ความยินดีพอใจในรสเกิดขึ้นหรือเปล่า หรือมีแต่ รสอร่อยแล้วก็ดับว่างไป เผ็ดว่างไป เปรี้ยวว่างไป
หรือจะรู้ทั้งรวมกัน รสชาติกลมกล่อมมากเลย พอกลืนถึงท้องปุ๊บ รสชาติหายไปตอนไหน เคย สังเกตไหม รสหายไปตอนไหน พอกลืนลงคอปุ๊บ รสนั้นหายไป แล้วเราก็ตักใส่ใหม่ เพื่อรักษารสนั้นต่อ สังเกตไหม ทานอาหารอร่อย ๆ นี่นะ ถ้าว่างไปสักระยะหนึ่ง เขาอร่อยไม่ต่อเนื่องกัน รู้สึก...ขาดความต่อ เนื่องของความอร่อย ไม่สบายใจเท่าไหร่หรอก เหมือนถูกขัดจังหวะ ใช่ไหม
แต่ที่จิตเรารู้สึกว่า รสชาติที่ทาให้เรา...เมื่อเราเกิดความยินดีพอใจในรสชาตินั้น แต่ถ้ารู้อาการเกิด ดบั เกดิ แลว้ ดบั ๆ ความยนิ ดพี อใจในรสชาตนิ นั้ เกดิ หรอื เปลา่ และทสี่ า คญั กค็ อื วา่ การทเี่ หน็ อาการกระทบ


































































































   55   56   57   58   59