Page 22 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การปรับอินทรีย์
P. 22

274
อีกทีหนึ่ง นิ่งใหม่ นิ่งแล้วในความว่างนั้น ในความรู้สึกที่ว่าง ๆ อันนี้นิดหนึ่ง ในความรู้สึกที่ว่าง กับใน บรรยากาศว่าง ๆ ทาความเข้าใจนิดหนึ่งนะ อันนี้ละเอียด สภาวะละเอียดขึ้นเยอะเลย พอลมหายใจว่างไป ลมหายใจหายไป แล้วใจมันรู้สึกว่าง ๆ กับลมหายใจหายไป ใจไม่ว่างมีแต่ลมหายใจว่างไป คือทาไมถึง ไม่ว่าง เพราะกังวลไม่มีอะไรให้ดู เลยไม่ว่าง
จริง ๆ แล้ว พอลมหายใจหายไป ก็ต้องมาสังเกตจิตใจเรา จึงบอกว่าให้สังเกตว่า ใจเราว่างด้วย ไหม สงบด้วยไหม มีความนิ่งขึ้น มีความสงบขึ้น มีความเบาขึ้น หรือว่าพอลมหายไปแล้วก็รู้สึกเฉย ๆ ไม่ ว่าจะเฉย ไม่ว่าจะสงบ ไม่ว่าจะว่าง ไม่ว่าจะเป็นอย่างไรก็ตาม แต่ให้สังเกตชัด ๆ ว่า แล้วใจเราขณะนั้นเป็น อย่างไร ถ้าใจรู้สึกสงบแล้วไม่มีอะไร ตรงนี้แหละ นิ่งแล้วรู้เข้าไปในความรู้สึกที่สงบ ว่าง ๆ ถ้ารู้สึกว่าว่าง ๆ นิ่งแล้วรู้เข้าไปในความรู้สึกที่ว่าง ๆ ความรู้สึกที่ว่าง ๆ ความรู้สึกอันนี้ คือจิต จิตที่ว่าง ลักษณะของสภาพ จิตใจที่รู้สึกว่าว่าง รู้สึกว่าง ๆ ความรู้สึกที่ว่าง ถ้านิ่งปื๊บ ทุกครั้งที่เรานิ่ง ลองดูว่ารู้สึกเป็นอย่างไร นิ่งแล้ว จากที่ว่าง ๆ ไม่มีอะไร จิตรู้สึกมีความหนักแน่นขึ้น มีความตั้งมั่นขึ้นไหม ตรงนี้แหละ...สังเกต
พอนงิ่ ปบ๊ื ! เหมอื นมพี ลงั หนาแนน่ ขนึ้ ตงั้ มนั่ ขนึ้ แลว้ นงิ่ ใหม่ นงิ่ ดคู วามรสู้ กึ ทหี่ นาแนน่ ขนึ้ ทตี่ งั้ มนั่ ขนึ้ แล้ว ดูที่เขามีพลังขึ้น นิ่งอีก แล้วพลังเพิ่มขึ้น นิ่งอีก รู้แบบนี้ซ้า ๆ จนพลังจิตที่มีกาลังหนาแน่นเต็มรูป พลงั เตม็ รปู เตม็ ตวั หรอื เตม็ ทงั้ บรรยากาศ ทนี พี้ อนงิ่ จติ มกี า ลงั มากขนึ้ แบบนี้ พอมกี า ลงั มากขนึ้ แลว้ อะไร ตามมา พอนิ่งแล้วจิตมีกาลังมากขึ้น อาการเกิดดับของอารมณ์อย่างใดอย่างหนึ่งจะเกิดขึ้น อย่างเช่นมี อาการวาบขึ้นมา นิ่งแล้วมีอาการวาบขึ้นมา นิ่งแต่ละครั้งมีอาการวาบขึ้นมา นั่นคืออาการเกิดดับปรากฏขึ้น
นิ่งแล้วขยายกว้างออก นิ่งแล้วขยายออก นิ่งแล้วขยายออก ตรงที่มีความรู้สึกเราขยายเป็นขณะ ๆ ขยายทกุ ครงั้ ทนี่ งิ่ นนั่ กค็ อื อาการ ตรงนจี้ ะเปน็ อาการ จดั เปน็ อาการเกดิ ดบั เปน็ อาการพระไตรลกั ษณ์ ขยาย แล้วหยุด แล้วก็วุบไป ขยายแล้วก็หยุด ขยายแล้วหยุด หยุดแล้วมีพลังมากขึ้น ๆ จัดเป็นอาการ เพราะ ฉะนั้น เวลาเรากาหนด ก็คือว่า ตามแต่ละขณะที่เปลี่ยนไปมากขึ้น หยุด ๆ ๆ พอหยุดเสร็จปุ๊บ ดูตรงกลาง ใหม่ นงิ่ ตรงกลางแลว้ เขาเกดิ แบบนี้ ตอนนเี้ ปลยี่ นไปอยา่ งไร สว่ นใหญโ่ ยคจี ะรสู้ กึ แบบนี้ เพราะนเี่ ปน็ ความ รู้สึก จึงรู้สึกว่าจิตมันมีอาการขยายออก ๆ ๆ มีพลังมากขึ้น มากขึ้น แน่นขึ้น สนใจเฉพาะจุดที่มีพลังหนา แน่นขึ้น ไม่สนใจถึงอาการที่เป็นขณะ แต่ละขณะ ๆ ๆ รู้...เห็นนะ ว่าเขาขยายเป็นขณะ ๆ ๆ แต่จะสนใจ ตรงที่แน่นขึ้น เพราะตรงที่รู้สึกว่าแน่นขึ้นมีพลังขึ้น มันรู้สึกดีกว่าตรงที่เป็นขณะ
แต่ในขณะเดียวกัน เวลาเราเจริญกรรมฐาน เราเจริญวิปัสสนา ไม่ใช่รู้แค่พลัง ยิ่งจิตมีพลัง ความ รู้สึกเรามีพลังหนาแน่นขึ้น อาการที่เป็นขณะนี่ต้องสังเกตว่า แต่ละขณะเขาชัดเจนมากขึ้นไหม ปื๊บ ๆ ดับ อย่างไร สังเกตแบบนี้ นี่คือการเพิ่มความนิ่งแล้วสังเกตอาการ
ทีนี้อีกอย่างหนึ่งก็คือว่า เวลาสภาวธรรมที่เกิดขึ้น อย่างเช่น เอาแบบที่เยอะ ๆ เลย เวลามีความคิด มีความคิดเยอะแยะเลย เดี๋ยวเรื่องนู้นเรื่องนี้เข้ามาเยอะแยะมากมายนี่นะ ความคิดที่เข้ามาเยอะ ๆ ตัวนี้ สา คญั เลยวา่ เวลาความคดิ เกดิ ขนึ้ เราจะรสู้ กึ วา่ เราไมส่ งบ จติ ใจเราไมน่ งิ่ มอี าการวบุ วบั ๆ เดยี๋ วทรุ นทรุ าย เดี๋ยวกระสับกระส่าย ที่กระสับกระส่ายอย่างที่บอกไปแล้วว่า ที่เรารู้สึกอึดอัดกระสับกระส่าย เพราะคิดว่า


































































































   20   21   22   23   24