Page 30 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การปรับอินทรีย์
P. 30

282
เพราะทุกครั้งที่นิ่งสติจะดีขึ้น จิตจะตั้งมั่นขึ้น อาการก็จะชัดขึ้น ไม่ใช่นิ่งทีเดียวแล้วก็อยู่ อาการก็ ปึ๊บ ๆ ๆ ไปเรื่อย ๆ อันนี้ให้ใช้ ที่บอกว่า บางครั้งโยคีเล่าสภาวะ อาการเกิดดับเป็นอย่างนี้ เล่าได้ดี แต่ อาจารย์ให้เพิ่มความนิ่งนะ เห็นอาการเกิดดับอยู่ แต่ทาไมอาจารย์ให้เพิ่มความนิ่ง โยคีเองจะรู้สึกว่าก็นิ่ง แลว้ ทา ไมอาจารยใ์ หเ้ พมิ่ ความนง่ิ อกี นงิ่ เหมอื นจนไมก่ ระดกิ แลว้ ทา ไมอาจารยใ์ หเ้ พมิ่ ความนง่ิ อกี นแี่ หละ เพราะอะไร สภาวะที่เกิดขึ้นเขาเป็นตัวบอกว่า ตัวที่นิ่ง ขณะที่นิ่งไม่กระดิก ตัวหรือจิต บางทีตัวมันถูกล็อค นิ่งแล้วแต่จิตมันไม่นิ่ง มันไม่นิ่ง มันเหมือนไม่มีกาลัง ไม่ตั้งมั่น เพราะฉะนั้นจิตให้นิ่งขึ้น...สังเกตอาการ
ไม่ใช่ว่าเราทาตัวให้แข็งทื่อแล้วจิตก็ไม่นิ่งอีก เห็นไหม เพราะฉะนั้นการนิ่งนี่นะไม่บังคับ แต่ใส่ใจ ตั้งใจที่จะรู้อาการ ภาษาเราก็คือตั้งใจตั้งสตินิดหนึ่ง ตั้งสติตั้งใจ ใครนิ่งไม่เป็น ลองกลั้นหายใจเป็นระยะ กลั้นหายใจนิดหนึ่ง แล้วสังเกต ลองดูเวลาเราสนใจอะไรแล้วนิ่ง แล้วกลั้นหายใจ ไม่ต้องสนใจอาการกลั้น หายใจ แค่กลั้นหายใจแล้วสังเกตอาการ มันเหมือนกับอาการนั้นจะชัดขึ้นมา จริง ๆ ทาไมถึงชัด เพราะสติ สมาธิมีกาลังมากขึ้น แต่ที่บอกให้นิ่ง ไม่ต้องกลั้นหายใจนะ โยคีก็... พอนิ่ง พอพูดกลั้นหายใจ พอจะนิ่ง เมื่อไร ก็กลั้นหายใจนิ่ง กลั้นหายใจนิ่ง แป๊บเดียวเป็นอย่างไร โห! เหนื่อย ทาไมถึงเหนื่อย คือหายใจไม่ทัน ผิดจังหวะ
แต่ถ้าเรานิ่งแบบนี้ นิ่งแล้วเขาดับไป นิ่งแล้วมีกาลังมากขึ้น ปล่อยไป ตอนที่นิ่งแล้วปล่อย นิ่งแล้ว ก็มีกาลังขึ้นปึ๊บ ว่างไปนี่นะ ตรงที่ว่างไป เหมือนเราหายใจผ่อนลมหายใจออกไปในตัว นิ่งนิดหนึ่งก็รู้อาการ มันก็คลายไป น่ิงแล้วกาลังมากขึ้น แต่ลมหายใจผ่อนไป จิตมีกาลังมากขึ้นตื่นตัวขึ้น เพราะฉะนั้นนิ่งแล้ว ไม่อึดอัดนะ จะนิ่งแล้วไม่อึดอัด โห! อาจารย์อธิบายเยอะเลย เมื่อก่อนเราไม่เป็น ต้องถามท่านประธาน (อาจารย์ศักดา) นิดหนึ่ง บอกให้นิ่งก็นิ่ง ไม่ต้องอธิบายเยอะ พวกเราโชคดีมากนะ พวกเราที่นั่งอยู่นี่นะ โยคีที่นั่งอยู่นี่โชคดีมากเลย อธิบายให้เหตุผลเยอะเลย
เพราะฉะนนั้ คดิ วา่ รแู้ ลว้ คงทา ไดน้ ะ ไมใ่ ชอ่ ธบิ ายหมดแลว้ กลบั ไปไมไ่ ดอ้ กี แลว้ อาจารยพ์ ดู ละเอยี ด ขนาดนี้ทาไม่ได้ ก็ถือว่าไม่ได้นะ ไม่รู้ทาอย่างไร ทาไม่ได้ก็คือไม่ได้ แต่สาคัญก็คือความเพียร ทีนี้พอเรา นิ่งแบบนี้ การที่เรามีเจตนาที่จะสังเกต พอใจที่จะรู้แบบนี้ ไม่ต้องห่วงหรอกว่า จะสงบหรือไม่สงบ สมาธิ มากขึ้นก็สงบเอง ไม่ใช่แบบ...ดิ่ง อาจจะยังไม่ดิ่งหรอก พอมีพลังมากขึ้น ๆ สงบมากขึ้นแล้ว จะรู้ว่าเวลา ดิ่งเป็นอย่างไร เวลาดิ่งเป็นอย่างไร โยคีจะดิ่งบ่อย คนที่มีสมาธิเยอะ ๆ นั่งปึ๊บดิ่งวูบ...หาย รู้สึกตัวขึ้นมา ได้ตื่นหนึ่ง คือดิ่งแล้ววูบหายไป พอตื่นมาตื่นหนึ่งรู้สึกสดชื่น คือดิ่งวูบดิ่งหลับ ไม่ใช่ดิ่ง ๆ ดื่มด่ากับความ สงบ แต่ดิ่งหลับ การได้ดื่มด่ากับความสงบยังรู้ว่า เอ่อ! ดื่มด่าอยู่กับความสงบ มีความอิ่มใจ มีความปีติ มีความเบิกบาน ลึก ๆ ดื่มด่าอยู่นั่น ดื่มไม่รู้จักอิ่ม จะออกมาก็เสียดาย ก็ยังดื่มต่อไป มันก็เลยรู้สึกออก มา...สดชื่น
เพราะฉะนั้นนี่การกาหนดสภาวะ การสังเกตต้องสังเกตให้ชัด ให้นิ่งเป็นระยะ เมื่อไหร่ที่รู้สึกตาม อาการไปแล้ว รู้สึกไม่มีกาลัง อย่ากังวล สภาวะจะเปลี่ยนอย่างไร จะเร็วจะช้า จะมากจะน้อยไม่ต้องกังวล นั่นคือธรรมชาติของสภาวะที่เกิดขึ้น ทุก ๆ อาการที่เกิดขึ้นเขาเป็นสภาวะ ไม่ว่าจะสลัว มัว ใส สงบ สุข


































































































   28   29   30   31   32