Page 38 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การปรับอินทรีย์
P. 38
290
ถ้าไม่มีการปฏิบัติ หรือไม่เห็นสภาวะ ไม่สามารถแยกรูปแยกนาม ไม่เห็นอาการพระไตรลักษณ์ เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไปได้นี่นะ ถึงแม้เป็นความศรัทธา ก็เป็นความศรัทธาที่เกิดจากการได้ยิน ได้ฟังและคิด ซึ่งการได้ยินได้ฟัง และการคิดของตนเองนั้น ยังไม่มั่นคงทีเดียว ยังมีการเปลี่ยนแปลง อาจจะ...เดี๋ยวก็ เสื่อมไป เลือนไป ไม่มั่นใจในสภาวะ ไม่มั่นใจในธรรมะในบางขณะ เมื่อมีอารมณ์บางอย่างเข้ามากระทบ แล้วไม่เป็นอย่างที่ตนเองคิด ไม่เป็นอย่างที่ตนเองปรารถนา ก็จะรู้สึกว่า ธรรมะเหมือนกับไม่เป็นอย่างนั้น
ทั้ง ๆ ที่...ที่จริงแล้ว เป็นสิ่งที่ตัวเองคิดไม่ถึง หรือคาดไม่ถึงแค่นั้นเอง แต่สภาวธรรมที่เกิดขึ้น จริง ๆ ที่เราจะปฏิบัติ การกาหนดรู้แบบนี้นี่แหละ จะทาให้เรามีความเชื่อมั่น มีความมั่นใจมากขึ้น สิ่งหนึ่ง ก็คือว่า ถ้าเราน้อมย้อนกลับมาดูว่า นี่คือสัจธรรม นี่คือความจริง นี่คือธรรมะที่พระพุทธองค์ตรัส เรื่อง ความเป็น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ของรูปนามขันธ์ ๕ ที่เราทั้งหลาย โดยทั่วไปเรียกว่า นี่เป็นคน เป็นตัวเรา เป็นเขา เกิดขึ้นนั้น ล้วนแต่เป็นขันธ์ ๕ ที่มาประชุมกัน และทาหน้าที่ของตน ๆ ทาหน้าที่ของตน เกิดขึ้นมา ตั้งอยู่ แล้วดับไป ตามเหตุตามปัจจัยเท่านั้นเอง
เพราะฉะนนั้ การทเี่ ราเหน็ แบบนี้ ลองสงั เกตดวู า่ ใครกต็ ามทมี่ สี ติ สมาธิ ปญั ญา แกก่ ลา้ พอทจี่ ะเหน็ วา่ รูปนามเป็นคนละส่วนกัน รูปมีอาการเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป มีการเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป แม้แต่ตัวจิตเอง ก็มี การเปลยี่ นแปลง เกดิ ขนึ้ ตงั้ อยู่ ดบั ไป ใครเหน็ แบบนี้ จติ จะเกดิ ความผอ่ งใส เกดิ ความเลอื่ มใส เกดิ ความสขุ ความสบายใจ เกิดขึ้นมาอย่างแน่นอน นั่นคือเป็นผลที่เกิดขึ้นโดยตรง ปีติเกิดขึ้น ความสุข ความสบายใจ
ทาไมถึงสบายใจ...บางคนไม่รู้ว่า สภาวธรรมที่เกิดขึ้นนั้น เรียกว่าอะไรด้วยซ้า เรียกไม่ถูกด้วยซ้า แต่สิ่งที่เกิดขึ้นมา คือจิตรู้สึกสบาย รู้สึกเบา รู้สึกโล่ง รู้สึกโปร่ง รู้สึกสงบ เพราะฉะนั้น เวลาพูดถึงธรรมะ พูดถึงสภาวะ จึงพูดถึงในลักษณะอย่างนี้ พูดถึงอาการ พูดถึงจิต ก็พูดถึงจิตที่มีความสงบ ความโล่ง ความ โปรง่ ความเบา มคี วามหนกั แนน่ ความมนั่ คง ความใสเกดิ ขนึ้ นคี่ อื ลกั ษณะของสภาพจติ ถา้ พดู ถงึ อารมณ์ เราก็แยกว่าเป็นความคิด เป็นเสียง เป็นภาพที่เห็น เป็นเวทนาที่เกิดขึ้น เป็นความปวด เป็นความเมื่อย เป็น ความชา เป็นอาการคัน ตรงนี้อย่างหนึ่ง
ทนี กี้ ารกา หนดรแู้ บบนี้ การทเี่ ราแยกแบบนี้ การทแี่ ยกจติ กบั จติ แยกจติ กบั กาย แลว้ เหน็ อาการเกดิ ดับแบบนี้ได้ เมื่อกี้นี้ถามว่า เรื่องของนิวรณ์ นิวรณ์ทั้งห้า กามฉันทะ ความยินดีพอใจในอารมณ์ต่าง ๆ ไม่ ว่าจะยินดีพอใจในเสียง ในภาพที่เห็น ในกลิ่นที่เกิดขึ้น หรือรสชาติของอาหารที่ปรากฏ การยินดีพอใจใน อารมณ์เหล่านั้น แล้วเกิดการเข้าไปคลุกคลี ติดอยู่กับอารมณ์เหล่านั้น จนไม่มีสติเข้าไปกาหนดรู้ ถึงอาการ เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป ของอารมณ์นั้น ๆ นั่นแหละเป็นตัวขัดขวาง
ขัดขวางได้อย่างไร เพราะ...ทาให้เราเพลิดเพลิน จนลืมที่จะกาหนดรู้ถึงสัจธรรมความเป็นจริง ของ สภาวธรรมที่เกิดขึ้นว่า อารมณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นนั้น ไม่ว่าจะเป็นอารมณ์ไหน ความรู้สึกดี ไม่ดีอย่างไร ย่อม มีความเปลี่ยนแปลง เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป การพิจารณาอย่างนี้ จึงต้องพิจารณาดูที่จิตตนเอง การที่คอยดู กายดูจิต ดูรูปนาม ดูจิตดูกายของตนเองตลอดเวลา เราจะเห็นว่า การที่เราคลุกคลีกับอารมณ์อันไหน ที่ ทาให้จิตใจเรา เกิดความรู้สึกว่าละเลย ละเลยต่อการงานที่สาคัญ ที่เราตั้งใจที่จะทา