Page 50 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การปรับอินทรีย์
P. 50

302
การมุ่งตรงนี้ เพื่อจะกาหนดรู้อาการพระไตรลักษณ์ จะได้เห็นว่า อาการเกิดดับของแต่ละอารมณ์ ในแต่ละขณะ เขามีความต่อเนื่อง หรือตัดขาดกันอย่างสิ้นเชิงในแต่ละขณะ ทีนี้แต่ละอาการเกิดดับที่เกิด ขึ้น อย่างเช่นเสียงเดียวกันนี้แหละ ในเสียงเดียวกัน ในขณะที่มุ่งเข้าไปแต่ละครั้ง เห็นอาการเกิดดับ แว็บ เดยี ว ๆ แตพ่ อกา หนดไปเรอื่ ย ๆ สตมิ กี า ลงั มากขนึ้ ในเสยี งนนั้ ...บางทมี งุ่ เขา้ ไปแลว้ ในเสยี งนนั้ ยงั มอี าการ เกิดดับปรากฏอยู่ มุ่งเข้าไปอีก เสียงนั้นเกิดดับเปลี่ยนไปอย่างไร อันนี้ขึ้นอยู่กับกาลังของสติของโยคี
แต่ประเด็นหลักคือ มุ่งเข้าไปกาหนดรู้อาการเกิดดับ ของอารมณ์ที่เกิดขึ้น ว่าเปลี่ยนไปอย่างไร อาการเกิดดับนี่นะจบไป สภาพจิตใจผลที่ตามมา สภาพจิตใจเปลี่ยนไปอย่างไร นี่...มุ่ง มุ่งที่จะรู้อาการ เกิดดับ ถามว่าเรามุ่งอาการ ถ้าเป็นอาการเกิดดับของเสียงแบบนี้นะ อาการเกิดดับเสียง อาการเกิดดับของ ความคิด อาการเกิดดับของความคิด ก็สามารถใช้ตัวมุ่งได้ ใช้ตัวมุ่งอย่างไร มุ่งที่จะไปรู้จุดเกิดของความ คิด เวลาเรามุ่งที่จะไปรู้จุดเกิดของอารมณ์ รู้จุดเกิดของความคิด
เอ่อ! จริง ๆ แล้ว เป็นสิ่งที่โยคีจะต้องพิจารณาว่า เมื่อเพิ่มตัวมุ่งเข้าไปแล้ว สภาวะเปลี่ยนไป อยา่ งไร สภาวธรรมเปลยี่ นไปอยา่ งไร สภาพจติ เปลยี่ นไปอยา่ งไร สตเิ ปลยี่ นไปอยา่ งไร จติ มคี วามตงั้ มนั่ ขนึ้ ตื่นตัวขึ้นหรือเปล่า อันนี้คือผลที่ตามมา ดูสภาพจิตไปด้วย พร้อมกับสังเกตอาการเกิดดับที่ต่างไป ทาไม ต้องให้โยคีสังเกต เพราะนั่นคือ เป็นผลที่เกิดขึ้นจากการกระทา จากการกาหนด จะได้รู้ว่า ทาแล้วผล เป็นอย่างไร ไม่ใช่แค่จิตตั้งม่ันขึ้น ตื่นตัวขึ้น หรืออาการเกิดดับเด็ดขาดขึ้น มีอะไรมากกว่าน้ัน มีอะไร มากกว่านั้น
อะไรมากกว่านั้นคืออะไร คิดว่าอย่างไร เข้าใจว่าอย่างไร ดีอย่างไรนะ สติดีขึ้น เอ่อ! ดี ดีอย่างไร อันนี้อย่างหนึ่ง และจะเห็นว่า เวลาเห็นอาการเขาดับ จะเห็นว่าแล้วจิตที่มุ่ง ตัวมุ่งเอง บางที บางทีเวลาให้ มงุ่ ไปรอู้ าการ อาการเกดิ ดบั เขาเปลยี่ นไปอยา่ งไร โยคกี ส็ นใจแคอ่ าการเกดิ ดบั ทเี่ ปลยี่ นไป วา่ เขาขาดไมข่ าด แต่พอถาม แล้วพอถามว่า ตัวมุ่ง จิตที่มุ่งไปรู้อาการเกิดดับ ดับด้วยไหม บางครั้งไม่ได้สังเกต
แต่ก่อนหน้านั้นนี่นะ เวลาปฏิบัติธรรม มักจะถามเสมอว่า การกาหนดรู้อาการเกิดดับของอารมณ์ ต่าง ๆ นี่นะ ต้องเป็นการกาหนดรู้อาการเกิดดับของรูปนาม ที่ปรากฏขึ้นมาของทุก ๆ อารมณ์ รูปนามคือ อารมณ์ที่เกิดขึ้น เสียงเป็นรูปอย่างหนึ่ง อันนี้อาการของลมหายใจก็เป็นรูป อาการของพองยุบก็เป็นรูป อาการของเดนิ กเ็ ปน็ รปู ทนี วี้ า่ เวลาจติ มงุ่ ไปรนู้ นี่ ะ จติ ทไี่ ปรอู้ าการเกดิ ดบั จติ ดบั ดว้ ยไหม อนั นตี้ อ้ งตอ่ เนอื่ ง เลยนะ ทุก ๆ อารมณ์ที่เกิดขึ้น นี่คืองาน ที่โยคีต้องสังเกตควบคู่กันเสมอ ไม่ต้องถามว่า ยังต้องสังเกตการ ดับของจิตด้วยไหม อันนี้ไม่ต้อง นั่นเป็นสิ่งที่ต้องรู้โดยปริยาย
โดยปรยิ ายโดยปกตเิ ลยวา่ ไมว่ า่ จะกา หนดรอู้ าการเกดิ ดบั ของอารมณไ์ หน กต็ อ้ งสงั เกตอาการเกดิ ดับของจิตที่ไปรู้ด้วย เพราะอะไร เรากาหนดรู้อาการเกิดดับของรูปนาม เพราะว่า เรากาหนดรู้อาการเกิด ดับของรูปนามที่กาลังปรากฏ ว่าเป็นไปในลักษณะอย่างไร เป็นไปในลักษณะอย่างไร ต่างจากเดิมอย่างไร ความละเอียดที่เกิดขึ้น ไม่ใช่ว่าอาการที่ละเอียดที่เกิดขึ้น ไม่ใช่แค่สภาพจิตเขาบาง ๆ ฝอย ๆ นะ


































































































   48   49   50   51   52