Page 110 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การพิจารณาหัวข้อธรรม
P. 110

970
เหล่านั้น ก็ย้อนสะท้อนกลับมาหาเราเป็นระยะ ๆ พอสะท้อนไปสะท้อนมา ความไม่ดีความไม่สบายใจ ยิ่ง มีกาลังมากขึ้น ๆ นี่คือเป็นเหตุปัจจัยซึ่งกันและกัน
แต่ถ้าเรารู้ว่า อาการนั้นเกิดแล้วดับ เกิดแล้วดับ รู้แล้วดับ ยิ่งสนใจว่า ยิ่งเห็นการดับมากเท่าไหร่ จิตเราเปลี่ยนเป็น...ต่างจากเดิมอย่างไร ต่างจากเดิมอย่างไร ทีนี้อีกอย่างหนึ่ง จุดที่ทาให้เรารู้สึกว่า ถ้าเห็น เกิดดับแล้วจิตเราดีขึ้น ทาไมเราไม่ดูให้มากขึ้น ดูให้เร็วขึ้น ให้ทันจิตตัวเองที่ทางานรู้แล้วดับ รู้การเกิดการ ดับของจิต ที่ไปรู้แต่ละอารมณ์ เพราะภาพที่เราเห็น ไม่ใช่ภาพเดียวที่อยู่ข้างหน้า
สมมติเห็นคน เห็นคนก็ไม่ได้เห็นแค่ตัว สามารถเอาจิตไปรู้ที่แขนแล้วดับ รู้ที่หน้าแล้วดับ รู้ที่ตัว แล้วดับ รู้ที่ก้าวเดินแล้วดับ แต่ละขณะรู้ให้ทัน ๆ ๆ จิตที่ทาหน้าที่รู้แล้วดับ รู้แล้วดับตรงนี้ ลองดู สติจะ มีกาลังมากขึ้นไหม สติจะไวขึ้นไหม แล้วดี จิตจะมีความตื่นตัว มีความผ่องใสมากขึ้นหรือเปล่า นี่คือการ เจาะสภาวะไปในตัว ถ้ากาหนดรู้แบบนี้ เราจะเห็นแค่อาการเป็นส่วนใหญ่ เห็นแค่อาการแล้วก็ดับ ๆ อะไร เกิดขึ้นมาก็ดับ ๆ ตรงนี้การปรุงแต่งจะน้อย
การปรงุ แตง่ กจ็ ะนอ้ ยลง หรอื แทบจะไมป่ รงุ แตง่ เหน็ แตจ่ ติ ตวั เองทเี่ กดิ ขนึ้ ใหม่ เกดิ ขนึ้ ใหม่ เกดิ ขนึ้ ใหม่ อันนี้คือการพัฒนา วิธีทาให้สติเรามีกาลังมากขึ้น เพื่อความเจริญก้าวหน้าในธรรม ทีนี้ พอเป็นแบบนี้ กับอารมณ์อื่น เห็นไหมอารมณ์ภายนอก นี่คือทางตาที่เราเห็น ถ้าเรารู้ว่าเรากาหนดอาการแบบนี้ ใครที่เคย รู้สึกว่า มีปัญหาทางสายตา มีปัญหาทางสายตานี่นะ พอจิตมีความผ่องใสมาก ใช้ความรู้สึกรับรู้ ใช้ความ รู้สึกรับรู้ ๆ ต่อไปรู้สึกว่า ปัญหาทางสายตาก็จะลดลง เพราะไม่รู้สึกว่าไม่กังวลกับสายตาแล้ว อยู่ที่สติมี ความชัดเจน รู้สึกชัดเจน...จิตมีกาลังว่าเป็นอย่างนี้ ชัดเจนแบบนี้ ชัดเจน
สังเกตไหมว่า พอจิตใสขึ้น ทาไมภาพที่เห็นทาไมถึงใสขึ้น จิตมีความตั้งมั่นขึ้น อารมณ์ที่รับรู้ถึงใส ขึ้น ตรงนี้ต้องทาบ่อย ๆ ใช้บ่อย ๆ แต่เป้าหมายของการปฏิบัติไม่ใช่แค่ชัดอย่างเดียว แต่สติ สมาธิ ปัญญา ที่ก้าวหน้าขึ้น จิตที่อิสระขึ้น ยิ่งเห็นแบบนี้แล้วจิตมีความผ่องใสขึ้น อิสระขึ้น มีความสะอาดขึ้น นั่นคือตัว สาคัญ เพราะฉะนั้น กลับมา...ย้อนกลับมาดูที่จิตเราเป็นระยะ ดูอาการนั้นสิ้นสุด อาการนั้นจบลง กลับมา ดูข้างใน ดูข้างในส่วนใหญ่นี่นะ ให้กลับมาดูที่บริเวณหทยวัตถุ หรือที่รูป
เพราะข้างนอกก็คือ ที่อยู่ไกล ๆ สภาพจิตที่กว้างออกไป พอกลับมาที่รูป ความกว้างเขาอยู่รอบตัว เขาอยู่รอบตัวทั้งหมด กลายเป็นว่ารูปนี้เป็นสิ่งที่อยู่ในความว่าง และรูปนี้ว่างไป เหลืออะไร เหลือแต่ความ รู้สึกที่สงบ มีความผ่องใสอยู่ในความว่าง ตรงกลางความผ่องใสนี่นะ เข้าไปรู้จิตที่ผ่องใสอีก ว่าเขาเปลี่ยน อย่างไร นี่คือวิธีการปฏิบัตินะ จุดที่ต้องใส่ใจ และที่บอกว่าในการปฏิบัตินี่นะ ที่บอกว่ารู้แต่ละขณะ แต่ละ อารมณ์ ที่สาคัญที่บอกว่า ให้รู้ว่าต้องรู้ว่า ขณะนี้เรากาหนดอะไร
มีสติเข้าไปรู้เสียง รู้อาการเกิดดับของเสียง รู้อาการเกิดดับของความคิด รู้อาการเกิดดับของความ ปวด รู้อาการเกิดดับของแสง อาการเกิดดับที่วาบ ๆ เป็นแสงสว่างขึ้นมา รู้อาการเกิดดับของจุดดา ๆ รู้ อ า ก า ร เ ก ดิ ด บั ข อ ง ด ว ง ใ ส ๆ ร อ้ ู า ก า ร เ ก ดิ ด บั ข อ ง อ า ก า ร ท เี ่ ป น็ เ ส น้ ห ร อื เ ป น็ ส ี เ ห ม อื น เ ค ล อื ่ น ไ ป แ ล ว้ ด บั เ ค ล อื ่ น


































































































   108   109   110   111   112