Page 114 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การพิจารณาหัวข้อธรรม
P. 114
974
และตัวนี้ สังเกตไหมว่า เกี่ยวข้องกับอะไร ความแตกต่างที่เราสังเกต ความแตกต่างทาให้สมองเรา นี่นะไม่ทางานอยู่ที่เดิม ไม่จาแค่เรื่องเดิม แล้วเส้นประสาท เซลล์สมองเราก็จะได้ทางานที่ต่างออกไป มัน จะได้ใช้งานพัฒนาสมองเราด้วย ไม่ใช่แค่นี้ แค่นี้ แค่นี้...ไม่ได้ ต้องเจตนา จาไม่ได้ ตั้งใจที่จะจา จาไม่ได้ พยายามที่จะจา ทาให้สมองเราทางานอย่างเต็มที่ ไม่ใช่แค่ช่างมัน ๆ ๆ แล้วก็ช่างมัน ไป ๆ มา ๆ ลืมหมด เลย...ไม่ดี
การใส่ใจ สังเกตไหมเขามีผลต่อกัน เพราะความแตกต่างนี่นะคือ...ทาไม เวลาเราปฏิบัติแล้วสมอง เราดีขึ้น การที่สนใจถึงความแตกต่าง บางคนปฏิบัติ พอสบายแล้วไม่สนใจแล้ว สมองไม่ใช่ว่าจะดีขึ้นนะ บางครั้งก็จะเฉย ว่าง ๆ ว่าง ๆ ลืมแล้ว ๆ โอ้!ไม่ดี ใช้ให้เกิดประโยชน์ ทาให้สมองพัฒนา สมอง...สังเกตถึง ความเปลยี่ นแปลงความแตกตา่ ง เปน็ งานของเรา...ถา้ ยงั ไมจ่ บ ถงึ แมจ้ บแลว้ กย็ งั ตอ้ งใชใ้ จ ตอ้ งใสใ่ จสงั เกต ทุก ๆ อารมณ์ อยู่กับปัจจุบัน การเรียนรู้เรื่องราวในโลกนี้ ยังมีมากมาย ให้เราใส่ใจได้เรียนรู้เยอะแยะ
แต่การเรียนธรรมะเพื่อให้จบพรหมจรรย์ เพื่อให้ลด เพื่อความดับทุกข์อย่างสิ้นเชิง ใส่ใจอาการ พระไตรลักษณ์ อาการเกิดดับของรูปนามให้มากที่สุด สังเกตให้ดี แต่อย่าเรื่องมากก็พอ คือสังเกตให้มาก แต่ไม่ใช่เรื่องมากนะ บางทีสังเกตมาก ๆ ทาไมอย่างนั้น ทาไมอย่างนี้ อันนี้เขาเรียกว่า...เรื่องมาก ถ้าสังเกต ให้มาก แล้วก็ดู...ยิ่งดู อ๋อ!เปลี่ยนอย่างนี้ เดี๋ยวเปลี่ยนเป็นอย่างนี้ เปลี่ยนเป็นอย่างนี้ สนุกไปกับเขา แล้ว ก็เปลี่ยน ๆ ๆ ไป กลับมาดู โอ้!ใจเราเป็นอย่างนี้ ดีขึ้นใสขึ้น พอตามรู้อาการเปลี่ยนแปลงไป เกิดดับไป กลับมาดูจิตอีกที อ๋อ!ไม่เหมือนเดิมแล้ว อิสระขึ้นกว่าเดิมอีก นั่นคือเหตุและผล
เพราะฉะนั้นถ้าเรารู้แบบนี้ รู้สภาวะ อารมณ์เยอะแค่ไหนก็จะมีความสงบ เป็นสัมมาสภาวะมาก แต่ เรากจ็ ะเปน็ คนทสี่ งบ เรอื่ งนอ้ ยลงเรอื่ ย ๆ จะเปน็ อาการทรี่ สู้ กึ สบายขนึ้ จะมคี วามสขุ มากขนึ้ นนั่ แหละเพราะ ฉะนั้น เวลาปฏิบัติธรรมขอให้ตั้งใจ ใส่ใจให้ดี สังเกตให้ชัด อาจารย์มักจะใช้คาว่าสังเกตให้ดี ลองสังเกต ตรงนี้ สังเกตแบบนี้ ถ้าบอกว่า อ่า! เปลี่ยนคาใหม่ก็ได้ เอ้า! ธัมมวิจยะเข้าไป เป็นอย่างไร เอ่อ! ให้วิจยะ ตรงนี้นะ ธัมมวิจยะตรงนี้นะตรงความว่าง โอ้โห!ภาษาเราไม่คุ้นเลยนะ
เราก็ เอ๊ะ! วิจยะเป็นอย่างไร วิริยะกับวิจยะเหมือนกันไหมนี่นะ เอ่อ!คล้าย ๆ กันแหละ ความขยัน ที่จะสังเกต คือการใส่ใจ การเข้าไปสังเกตคือการต้องขยัน ที่เมื่อคืนบอกว่า ทาอย่างไรถึงจะพัฒนา การรู้ การเปลี่ยนแปลง แล้วก็ความก้าวหน้านี่นะ เขาเรียก อะไรนะ ลืมแล้ว ฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา พอใจ ๆ ใส่ใจ ตั้งใจพิจารณา ก็คือตัวธัมมวิจยะนั่นแหละ ตั้งใจ ใส่ใจ พิจารณาสังเกตอาการให้ชัด พอใจแล้วก็ขยัน สังเกตใส่ใจตั้งใจ แล้วก็สังเกตให้ต่อเนื่อง ๆ เดี๋ยวสภาวธรรมเขาก็ก้าวหน้าขึ้น
ทพี่ วกเรามานนี่ ะ กพ็ ยายามกา้ วหนา้ แลว้ นะ แตล่ ะคนกก็ า้ วหนา้ ขนึ้ อาจารยฟ์ งั แลว้ ก็ เออ่ !กา้ วหนา้ ขนึ้ เขาไมเ่ ชอื่ กนั ถงึ แมน้ ดิ หนงึ่ กก็ า้ วหนา้ เหน็ ไหม หรอื อาจจะกระโดดไปเลยกก็ า้ วหนา้ บางท.ี ..เวลาโยมมา ปฏิบัติ...ก้าวหน้าขึ้นนะ แต่ไม่ได้ดั่งใจ รู้สึกว่าทาไมไม่ก้าวหน้าเลย พออาจารย์บอกว่าก้าวหน้าขึ้น อาจารย์ ปลอบใจเฉย ๆ หรือเปล่า ขนาดปลอบขนาดนั้นแล้วนะ เราก็ต้องเชื่อบ้าง อาจารย์ปลอบเยอะ ดุน้อย ให้ กาลังใจ