Page 19 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การพิจารณาหัวข้อธรรม
P. 19
879
สภาวธรรมคอื อะไร ? สภาวธรรม กค็ อื อาการเกดิ ดบั ของอารมณต์ า่ ง ๆ และสภาวธรรม กค็ อื สภาพ จิต ซึ่งเป็นผลที่เกิดจากการกาหนดรู้อาการเกิดดับของอารมณ์ต่าง ๆ นั่นเอง คาว่า “อารมณ์ต่าง ๆ” ก็คือ อาการทางกาย อาการของเวทนา อาการของจิต หรืออาการของรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสที่เกิดขึ้น ตรงนี้ แหละจึงใช้คาว่าอาการเกิดดับของอารมณ์ต่าง ๆ ไม่มีข้อแม้ ไม่มีข้อยกเว้น เพราะอารมณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น ที่มีจิตเข้าไปรับรู้นั้น ล้วนเป็นสภาวธรรมทั้งสิ้น เป็นอาการของรูปนามตามปกติ เหลืออยู่อย่างเดียวก็คือ เจตนาของเรา เจตนาที่จะเข้าไปกาหนดรู้ดูว่าอาการเหล่านั้นเกิดดับอย่างไร
เพราะฉะนั้น สาหรับนักปฏิบัติที่มีเป้าหมายที่จะละ เพื่อเดินทางไปสู่มรรคผลนิพพาน เพื่อการดับ ทุกข์อย่างสิ้นเชิงแล้ว ควรจะมีเจตนาและใส่ใจที่จะเข้าไปกาหนดรู้ถึงอาการเกิดดับในทุก ๆ ขณะ ในทุก ๆ อิริยาบถ ในทุก ๆ อารมณ์ เท่าที่จะเป็นไปได้ หมายถึงว่าทั้งกาลังของสติ ทั้งเวลา ทั้งอารมณ์ที่กาลังปรากฏ ชดั อยู่ เมอื่ เหตปุ จั จยั เหลา่ นพี้ รอ้ ม กใ็ หใ้ สใ่ จเขา้ ไปกา หนดรถู้ งึ อาการเกดิ ดบั อยา่ งเชน่ พอมผี สั สะมากระทบ เกิดความขุ่นมัวขึ้นมา ก็มีสติเข้าไปรู้ว่าความขุ่นนี้จะดับอย่างไร พอความขุ่นตรงนี้เป็นกลุ่มขึ้นมา มีสติ เข้าไปรู้ เขากระจาย ๆ คลาย ๆ เลือน ๆ หายไป หรือพอกระทบปุ๊บมีความขุ่นแว็บขึ้นมา ดามืดเป็นก้อนขึ้น มา มีสติเข้าไปกาหนดปุ๊บดับฟึ่บหายไปเลย นี่ก็คือลักษณะอาการเกิดดับของอารมณ์ นี่คือการเจาะสภาวะ
การกา หนดดจู ติ ในจติ แบบนี้ การสงั เกตอาการเกดิ ดบั ตรงนี้ อยา่ งทบี่ อกแลว้ วา่ จะทา ใหเ้ ราเหน็ อารมณ์ ทป่ี รากฏขน้ึ มาทง้ั ทดี่ แี ละไมด่ ไี ดเ้ รว็ โดยเฉพาะเมอื่ อารมณท์ ไี่ มด่ ที เี่ ปน็ อกศุ ลเกดิ ขน้ึ มา เราสามารถเหน็ ไดเ้ รว็ เราก็ดับได้เร็ว พอเกิดขึ้นมาปุ๊บ รู้ปั๊บ จิตก็จะเกิดความคุ้นชินกับการเข้าไปดับอกุศล เข้าไปดับอารมณ์ท่ี ไม่ดี เพราะฉะนั้น พอรู้สึกไม่ดีปุ๊บสติเขาจะทาหน้าที่เข้าไปกาหนดรู้ว่าดับอย่างไร ตรงนี้แหละจะทาให้จิต เรามีความอิสระได้ง่ายขึ้น ไวขึ้น รู้เท่าทันตัวเองมากขึ้น ไม่ใช่รู้เท่าทันอารมณ์ที่เข้ามากระทบ แต่รู้เท่าทัน อารมณ์ของตนเองที่กาลังปรากฏขึ้นจากการกระทบกับอารมณ์ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นรูป เสียง กลิ่น รส...
หรอื เมอื่ มรี ปู เสยี ง กลน่ิ รส เขา้ มากระทบเขา้ มาทางทวารทงั้ หกแลว้ มเี วทนาเกดิ ขนึ้ จติ ทเี่ กดิ ขนึ้ มา รับรู้อารมณ์นั้นและสานต่ออารมณ์นั้น เป็นจิตประเภทไหน...เป็นอกุศล หรือเป็นจิตที่ผ่องใสประกอบด้วย ปัญญามารับรู้เวทนาที่เกิดขึ้นจากอารมณ์ที่เข้ามากระทบทาง ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจของเรา ? ยิ่งรู้เท่าทัน อารมณ์ของตนเองเร็วเท่าไหร่ เราก็หยุดตัวเองได้เร็วเท่านั้น นี่แหละคือการรู้จักหยุดตนเอง ไม่ใช่ไปหยุด อารมณ์ภายนอกไม่ให้เกิด แต่หยุดตัวเองไม่ให้เข้าไปคลุกคลีกับอารมณ์ท่ีกาลังปรากฏอยู่ เพ่ือให้อารมณ์ นนั้ ดบั ไปตามเหตปุ จั จยั ตามกา ลงั ไมเ่ ขา้ ไปยดึ เอาวา่ เปน็ ของเรา และพรอ้ มทจ่ี ะละ พรอ้ มทจ่ี ะเขา้ ไปกา หนด ดับอารมณ์นั้น
การพิจารณาในลักษณะอย่างนี้ เป็นแนวทางในการเดินทางเพื่อไปสู่เป้าหมายของการดับทุกข์ และ เปน็ วธิ กี ารทเี่ ราจะไดเ้ หน็ ถงึ สจั ธรรมทเี่ กดิ ขนึ้ คอื อาการของรปู นามทกี่ า ลงั เปน็ ไปตามเหตตุ ามปจั จยั อยเู่ นอื ง นิตย์ เพราะฉะนั้น ในการปฏิบัติธรรมของเรา ยิ่งเราเจาะสภาวะได้อย่างต่อเนื่องในทุก ๆ อิริยาบถ สติก็จะ ยิ่งแก่กล้าขึ้น ปัญญาก็ยิ่งละเอียด ยิ่งคม ยิ่งแยบคายมากขึ้น เห็นสภาวธรรมท่ีกาลังปรากฏ ไม่ว่าจะเป็น ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย หรือใจก็ตามได้อย่างชัดเจน และเห็นความมีช่องว่างระหว่างอารมณ์ ความเป็น คนละส่วน ความเป็นอิสระจากอารมณ์เหล่านั้นได้มากยิ่งขึ้นไปด้วยเช่นเดียวกัน