Page 108 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การพิจารณาสภาวธรรม
P. 108

416
เพราะฉะนั้น วิปัสสนานี่นะ วิปัสสนาท่านจึงให้เราพิจารณากาหนดรู้ ความเป็นจริงตรงนี้ เบื้องต้น เลย ปัญญาในเบื้องต้น เขาเรียกวิปัสสนาญาณเบื้องต้นนี่นะ เขาให้สังเกตว่า ให้กาหนดรู้ว่า รูปกับนามเป็น ส่วนเดียวกัน หรือคนละส่วนกัน เขาเรียกว่าเป็นการแยกรูปแยกนาม เขาเรียก นามรูปปริจเฉทญาณ เห็น ความเป็นรูปนามแยกจากกัน ที่อาจารย์บอกว่าให้เราแยกรูปนามนี่นะ ให้แยกจากกันอย่างสิ้นเชิง เห็นไหม กายกับจิตเขาเป็นส่วนเดียวกัน หรือคนละส่วนกัน นี่คือจุดเริ่มต้น พอเห็นแบบนี้ปึ้บนี่นะ สิ่งที่ตามมา ต่อไปก็คือว่า รูป...เป็นการแยกรูปกับรูป รูปแต่ละส่วน ๆ มีความแตกต่างกัน
เพราะฉะนั้น เวลาท่านให้กาหนดอาการพองยุบ หรือลมหายใจเข้าออก เมื่อก่อนหน้านี้ก็จะถามว่า ระหว่างพองกับยุบเป็นส่วนเดียวกัน หรือคนละส่วนกัน พองกับยุบเป็นส่วนเดียวกัน หรือคนละส่วนกัน หายใจเข้า หายใจออกเขาเป็นส่วนเดียวกัน หรือคนละส่วนกัน แล้วระหว่างพองกับพองนี่นะ เขาเป็นอัน เดียวกัน หรือขาดช่วงขาดตอน อันนี้เป็นการแยกรูป เพื่อที่จะย่อย แล้วก็จะเห็นว่าแขนก็ส่วนหนึ่ง นิ้วก็ ส่วนหนึ่ง พอสังเกตแบบนี้บ่อย ๆ จิตเราเห็นความจริง รูปนี้เป็นของไม่เที่ยง เห็นการเกิดดับ ความเปลี่ยน ไป เป็นธรรมชาติ
อย่างที่บอก อาจารย์พูดโดยรวมว่า โดยส่วนใหญ่แล้ว เวลาเรานั่งกรรมฐานนี่นะ วิปัสสนา ท่านให้ สงั เกตการเปลยี่ นแปลงตงั้ แตเ่ รม่ิ ตน้ ตอนทเี่ ราดลู มหายใจ ดวู า่ ลมหายใจมกี ารเปลยี่ นแปลง มอี าการ มยี าว มีสั้น มีเร็ว มีช้า มีอาการขาดตอน หรืออาการพองยุบ พองแล้วเปลี่ยนแปลงอย่างไร พองกับยุบต่างกัน เดี๋ยวเร็วเดี๋ยวช้า เดี๋ยวยุบเป็นขณะ ๆ หรือพองเป็นขณะ ๆ ไป นี่คือจุดเริ่มต้นของการกาหนดรู้ ถึงอาการ เกิดดับ เพื่อที่จะตัด เพื่อที่จะละ เพื่อที่จะตัดปฏิจจสมุปบาท ตัดวัฏสงสารในเบื้องต้น
ถ้าไม่สนใจอาการนี้ ลองดู ถ้าไม่สนใจอาการเกิดดับ ลองดูว่าเราจะตัดได้ตรงไหน คิดว่าฉันจะตัด แล้ว เหมือนอารมณ์ ความคิด ความรู้สึกที่เกิดขึ้นนี่นะ เหมือนอารมณ์ความคิด ความรู้สึกที่รู้สึกดี ไม่ดี เกิดขึ้นในชีวิตของเรา เป็นความทุกข์เกิดขึ้น ถ้าคิด ฉันจะไม่ทุกข์แล้ว ความทุกข์หายไหม...ไม่หาย บางที ก็ข่มไว้ ไม่ต้องทุกข์ อย่าทุกข์ ๆ ๆ ต่อไปก็กลายเป็นความข่ม เฉยไว้ ๆ ๆ พยายามบอกให้เฉย ทาจิตให้ เป็นกลาง สังเกตไหม เราพยายามทาเฉย ข่ม ๆ จิตไว้ เพื่อไม่ให้ความทุกข์เกิด ถามว่าดีไหม...ดี ไม่ผิด ดี...เพราะการรู้จักข่มจิต
เขาเรยี ก การรจู้ กั ขม่ จติ มตี บะ รจู้ กั ขม่ จติ ตวั เอง กเ็ ปน็ การควบคมุ กเิ ลสอยา่ งหนงึ่ แตก่ ารทเี่ ราเหน็ อาการเกิดขึ้นแล้ว เห็นแล้วดับเลยนี่นะ โดยที่ไม่ต้องข่ม ไม่ต้องเก็บนี่นะ การข่มที่เราเปรียบเทียบเหมือน หินทับหญ้า แต่การที่เข้าไปกาหนดรู้ถึงอาการดับ คือไม่ได้ทับเอาไว้ เห็นแล้วดับไปแล้วเกิดใหม่ ดับไปเกิด ใหม่ มีอาการเกิดดับแบบนี้เรื่อย ๆ เขาจะตัด อายุอารมณ์จะสั้นลง อายุอารมณ์สั้นลง การคิดก็คิดน้อยลง คิดอะไรจบเร็ว เวลาไม่สบายใจ เวลาทุกข์ ทุกข์ก็จะสั้นลง น้อยลง เมื่อเห็นอาการเกิดดับตรงนี้
การสนใจอาการเกิดดับ ความทุกข์ก็สั้นลง ความโกรธ โกรธแล้วจบเร็ว โกรธขึ้นมา เขาเรียกตัว กิเลสนี่นะ ตัวโทสะเกิดขึ้นมา พอสติรู้เขาก็ดับ มีสติรู้ก็ดับ เขาจะสั้นลงเรื่อย ๆ แม้แต่โลภะเอง ถ้าสนใจ อาการเกิดดับแบบนี้ เขาจะสั้นลง นอกจากโลภะ มีอะไร เขาเรียก อวิชชา ความเข้าใจผิดว่าเป็นตัวเรา


































































































   106   107   108   109   110