Page 106 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การพิจารณาสภาวธรรม
P. 106
414
ลองใหม่ ไม่ต้องเปลี่ยนคาบริกรรมหรอก ทุกข์หนอ เอาทุกข์ออก ทุกข์หนอ ให้มันอยู่ข้างนอก ทุกข์หนอ เขาก็...เอ่อ!แปลกดี มันเบาไป ๆ จริง ๆ แล้ว ทุกข์หนอแล้วมันอยู่ข้างนอก บางทีทุกข์หนอ ทุกข์หนอแล้วยิ่งมุ่งเข้าไปข้างใน มันแน่นอยู่ในอกเรา จริง ๆ เขาต่างกันอย่างไร ให้เอาความรู้สึกทุกข์หนอ ออกไปข้างนอก จริง ๆ แล้ว คือการเอาทุกข์หนอ ออกไปข้างนอกนี่นะ คือ การแยกรูปนามในตัว ไม่ใช่ว่า เราไปคิดว่ามันออกแล้วมันจะออก คิดให้มันออก?
เพราะเคยว่า พอเราไปท่องบริกรรมแล้ว มันอยู่ที่ข้างในอย่างเดียว มันอยู่ที่ตัว ตัวมันกลายเป็น ว่ามันแน่น ๆ ขึ้น ลองทุกข์หนอ ๆ แป๊บเดียวมันหาย ก็เลย เอ่อ! แปลกดี คือปฏิบัติมาตั้งนาน ไม่แปลก หรอก คือสติดีอยู่แล้ว สมาธิดีอยู่แล้ว พอรู้วิธีทาปึ๊บ มันก็...อ๋อ!ใช่ การแยกรูปนามออก ความทุกข์ก็ ดับ ๆ ๆ ทีนี้การตัดนี่นะ วิปัสสนา เราจะเห็นว่า คาว่า วิปัสสนา บางที...บางคนจะเกิดความรู้สึกว่า คนที่ พูดถึงวิปัสสนาเมื่อไหร่...รู้อาการเกิดดับ พอให้สังเกตอาการเกิดดับ ทาไมต้องรู้อาการเกิดดับ ไม่รู้ได้ไหม รู้แต่จิตว่างอย่างเดียวได้ไหม ปล่อยวางเลยได้ไหม ทาให้ว่างสบายเลยได้ไหม เอ่อ! ถ้าทาได้ก็ดี
แต่ที่ถามว่า ที่ทาอยู่ทุกวันนี้ ปล่อยให้ว่างแล้วมันจบไหม ก็ไม่จบอยู่ดี คือพอไม่จบ แต่ก็อยากทา แบบนั้นอยู่ คือเป็นคาถาม คืออยากสบาย ไม่ต้องทาอะไรมาก อันนี้อย่างหนึ่งนะ แต่บางคนทาถูกแล้ว ทีนี้วิปัสสนานี่นะ ทาไมถึงบอกว่ารู้อาการพระไตรลักษณ์ รู้อาการเกิดดับ เราเอามาจากไหน เอามาจากที่ พระพุทธเจ้าถามภิกษุทั้งหลายว่า รูปเที่ยงหรือไม่เที่ยง เห็นไหม เวทนาเที่ยงหรือไม่เที่ยง เป็นทุกข์ หรือเป็นสุข ทุกข์ตรงนี้หมายถึงทุกขลักษณะ เพราะฉะนั้นวิปัสสนาน่ีนะ อนัตตลักษณะ ทุกขลักษณะ อนิจจลักษณะ หรือ อนิจจลักษณะ ทุกขลักษณะ หรืออนัตตลักษณะ
คาว่าลักษณะของความทุกข์ ลักษณะของความเป็นอนิจจัง ลักษณะของความเป็นอนัตตา ไม่ใช่ แค่ทุกขเวทนาอย่างเดียว ทุกขเวทนาคือความเจ็บปวด ความเมื่อย ชา คัน รู้สึกสบายใจ ไม่สบายใจ แต่ ทุกขลักษณะนี่นะ หมายถึงว่าเกิดขึ้นแล้วดับไป ตั้งอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้ ไม่มีอะไรเกิดขึ้นแล้วไม่ดับ เรา เคยเห็นไหม อะไรเกิดขึ้นแล้วไม่ดับ บางทีก็เขาดับช้ากว่าเรา เราดับก่อน เลยไม่เห็นก็มี ใช่ไหม แผ่นดินนี้ กว่าจะดับได้ เราก็ดับไปก่อนหลายรอบแล้วแหละ
แต่ในขณะเดียวกัน คือไม่ว่าอะไรก็ตามที่เกิดขึ้นแล้ว พระพุทธเจ้าตรัส เกิดขึ้นแล้วดับไป แผ่นดิน จะดบั กรี่ อบกต็ าม เปลยี่ นอยา่ งไร เราไมเ่ หน็ หรอก แตก่ ารทรี่ แู้ ลว้ รอู้ าการเกดิ ดบั ของอะไร ของรปู นาม ขนั ธ์ ๕ นี่แหละ ที่จะละสักกายทิฏฐิ ละความเห็นผิดของเรา ละความเข้าใจผิด ละความทุกข์ การยึดมั่นถือมั่น ในรูปนาม ขันธ์ ๕ ได้ ถ้าเมื่อไหร่ไม่สนใจอาการเปลี่ยนแปลง หรือการเกิดดับของอารมณ์ หรือธรรมชาติ ของรูปนามอันนี้ อย่างไรก็ยังยึดอยู่ดี เพราะเราคิดว่าเป็นของเที่ยง
เพราะอันนี้แหละ เพราะการยึดติดว่า มันจะเหมือนเดิม มันจะต่างไปนะ เหมือนเดิมต้องเกิดแล้ว เป็นอย่างนี้เรื่อย ๆ คนเราจึงกลัว กลัวอะไร...กลัวการตาย ไม่อยากตายหรอก อยากยึดติดอยู่กับภพภูมินี้ ถงึ ตายไปแลว้ กอ็ ยาก...อยากเกดิ อกี อยากจะเกดิ เปน็ อะไร เปน็ คนอกี อยากจะเกดิ เปน็ คน บางทจี นเรารสู้ กึ ว่า คนนี้ตายแล้ว...เกิดหรือยัง เคยคิดไหมว่า ตายแล้วไปเกิดไหม ส่วนใหญ่เรารู้สึกว่า ตายแล้วก็ไปเป็นผี