Page 115 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การพิจารณาสภาวธรรม
P. 115

423
เพราะฉะนนั้ อาจารยจ์ ะใหโ้ ยคสี งั เกตเองมากกวา่ แตพ่ ยายามใหโ้ ยคสี งั เกตเอง อาจารยก์ เ็ ฉลยเยอะ มาก เออ่ !ธรรมะนนี่ ะ ทพี่ ดู มาเหมอื นกบั เปน็ คา เฉลยกลาย ๆ นะ เกอื บหมดแลว้ แหละ เหลอื นดิ เดยี ว เหลอื สิ่งที่โยคีต้องทา แต่อาจจะเห็นต่างจากนี้ก็ได้ แต่ประเด็นก็คือว่า คาถามเมื่อกี้นี้ว่า การกาหนดรู้อย่างไร ถึง จะตัดปฏิจจสมุปบาทได้ ที่จริงวิปัสสนานี่นะ เป็นแนวทางที่จะตัด ตัดปฏิจจสมุปบาทโดยตรง เป็นแนวทาง ที่จะตัดโดยตรง
เพราะวิปัสสนา ถ้ายกจิตขึ้นสู่วิปัสสนา เพื่อพิจารณาอาการพระไตรลักษณ์ เราจะเห็นว่า การเจริญ สมถกรรมฐานก็ตาม พอเจริญสมถกรรมฐานได้ฌาน จิตมีความสงบ ได้ฌานแล้ว ที่สุดแล้ว ท่านก็บอกว่า ให้ยกจิตขึ้นสู่วิปัสสนา การยกจิตขึ้นสู่วิปัสสนา พิจารณา พิจารณาถึงอาการพระไตรลักษณ์ ของรูปนาม ขันธ์ ๕ อยู่ดี พิจารณาอาการพระไตรลักษณ์ คือความไม่เที่ยง การเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป ของรูปนาม ขันธ์ ๕ อยู่ดี แต่การพิจารณานี่นะ บางครั้งอย่างที่บอก พูดวันแรกว่าเราพิจารณาหัวข้อธรรม หรือพิจารณาจาก สภาวธรรมที่กาลังปรากฏ การพิจารณาจริง ๆ คือพิจารณาจากสภาวธรรมที่กาลังปรากฏ
หวั ขอ้ ธรรมเรอื่ งราวนนี่ ะ เรายอ้ นกลบั มาพจิ ารณานะ่ เปน็ จติ มยปญั ญา พจิ ารณาได.้ ..ไมผ่ ดิ แตก่ าร พจิ ารณาสภาวธรรม ทกี่ า ลงั ปรากฏเกดิ ขนึ้ อยเู่ ฉพาะหนา้ จรงิ ๆ จงึ เปน็ สภาวธรรมเกดิ ขนึ้ จรงิ เหน็ จรงิ ดบั จรงิ เกดิ จรงิ ดบั จรงิ เปน็ อยา่ งนนั้ ไมใ่ ชส่ งิ่ ทยี่ งั ไมเ่ กดิ หรอื สงิ่ ทผี่ า่ นไปแลว้ เหน็ ไหม ไมไ่ ดใ้ ช.่ ..ไมใ่ ช่ สภาวธรรม ที่ยังไม่เกิด หรือผ่านไปแล้ว แต่พิจารณาสภาวธรรมที่กาลังปรากฏ ณ ปัจจุบันขณะ เหมือนเวทนาเกิดขึ้น นี่นะ พอเรานั่งกรรมฐาน แล้วมีเวทนาเกิดขึ้นปึ้บ ก็รู้เวทนา ณ ขณะนั้นจริง ๆ รู้ถึงการเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป รู้ถึงอารมณ์ที่มีความเปลี่ยนไป สลายไป หายไป จนเห็นด้วยปัญญาตัวเองว่า ไม่มีอะไรที่จะยึดได้เลย
สังเกตไหม พอเราโยคีปฏิบัติไปสักพัก พอเห็นถึงความเปลี่ยนแปลงนี่นะ ยึดไม่ได้ อะไรก็ว่างหมด สลายหมด จติ ใจเรมิ่ รสู้ กึ วา่ วงั เวง ยดึ อะไรไมไ่ ด้ ไมม่ อี ะไรยดึ รสู้ กึ วงั เวง อาการประมาณไหนนา้ ! วงั เวงนนี่ ะ สงสัยเหมือนอยู่คนเดียวในป่าช้านะ รู้สึกว่า โห! หันไปตรงไหนก็ว่างเปล่า เหลือแต่ตัวคนเดียว เราจะไป ยึดอะไรก็ว่าง รู้สึกวังเวง สิ่งที่เวลาวังเวง สิ่งที่ตามมาด้วยคืออะไร หวาด ๆ เสียว หวาดเสียวหรือกลัว หนั ไปทางไหนกว็ งั เวง นคี่ อื ความกลวั ความหวาด แลว้ กจ็ ะรสู้ กึ สงิ่ ทตี่ ามมา คอื แหง้ แลง้ หอ่ เหยี่ ว แลว้ กเ็ บอื่
ตรงนี้กลายเป็น นิพพิทา ความเบื่อหน่ายในชีวิต ความเบื่อหน่ายในการเวียนว่ายตายเกิด เริ่มจาก ปรากฏชัดด้วยปัญญาที่เห็นว่า รูปนาม ขันธ์ ๕ อันนี้ไม่มีอะไรยึดได้เลย กลับเป็นของว่างเปล่า เป็นของที่ ไร้แก่นสาร ไม่มีสาระ รู้เมื่อไหร่ก็ว่างเมื่อนั้น ว่างเมื่อนั้น ตรงนี้นะ ความรู้สึกที่ว่างเปล่านี่นะ จะเป็นตัวทาให้ ผู้ปฏิบัติ เกิดความรู้สึกอยากจะหลุดพ้นจากวัฏฏะจริง ๆ ไม่อยากจะเวียนว่ายตายเกิดอีกต่อไปแล้ว สิ่งที่ ปรารถนาลึก ๆ ด้วยใจก็คือว่า อยากไปสู่มรรคผลนิพพาน อยากจะหลุดพ้นจริง ๆ
แต่ถ้าไม่เจอแบบนี้นะ เดี๋ยวไม่ได้ดั่งใจ ก็รู้สึกเบื่อ พอได้ดั่งใจก็หลงใหลต่อไป ถ้าได้ดั่งใจเมื่อ ไหร่ก็อยากอยู่ต่อ ไม่ได้ดั่งใจก็เบื่อแล้ว ไม่อยากจะอยู่ต่อแล้ว กลายเป็นเบื่อ ๆ อยาก ๆ ตรงนี้ ถ้าเบื่อ ๆ อยาก ๆ แบบนี้ เขาเรียกว่า เบื่อด้วยกิเลส ไม่ได้เบื่อด้วยปัญญา เพราะฉะนั้น การที่เราเบื่อด้วยปัญญานี่นะ คือพิจารณาอาการของรูปนามทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็น รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ความรู้สึกดี ไม่ดี


































































































   113   114   115   116   117